1.35k likes | 1.58k Views
File : SC124_welcome_14swf. หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน. Enter Course. คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน. Music Bg. คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ xxx_xxxx_xxx.swf. ยินดีต้อนรับเข้าสู่. รหัสวิชา SC124 (Chemistry For Engineers). เคมีอินทรีย์ (Organic Chem).
E N D
File :SC124_welcome_14swf หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน Music Bg • คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ xxx_xxxx_xxx.swf ยินดีต้อนรับเข้าสู่ รหัสวิชา SC124 (Chemistry For Engineers) เคมีอินทรีย์ (Organic Chem)
File :sc124_Objective_14.swf หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์รายวิชา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • ……………………………………………………………………………. • ……………………………………………………………………………. • ……………………………………………………………………………. Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน • เมื่อคลิกปุ่ม Enter Course เข้าสู่ไฟล์ : xxxx_home_xxx.swf
File :sc124_home_14.swf หัวเรื่อง : หน้าโครงสร้างบทเรียน สารบัญบท บทนำ การเรียกชื่อตามหมู่ฟังก์ชัน สมบัติทางกายภาพ ปฏิกิริยาทางเคมี แบบฝึกหัดเสริมความเข้าใจ คลิกเลือกหัวข้อเพื่อศึกษารายละเอียด ไม่มีเสียง • คลิก บทนำ link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก การเรียกชื่อตามหมู่ฟังก์ชัน link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก สมบัติทางกายภาพ link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก ปฏิกิริยาทางเคมี link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก แบบฝึกหัดเสริมความเข้าใจ link ไป File : sc124_14_01.swf
File :sc124_14_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา บทนำ • สูตรโครงสร้างแบบต่างๆของสารอินทรีย์ H H H H H C H C H C C C H H H H H C C C C C • เราจะมาศึกษาการเขียนโครงสร้างแบบอะตอมของคาร์บอนไฮโดรเจนแบบที่เป็นแบบลิวอิสที่จะเปลี่ยนไปเป็นแบบบอนด์ไลน์คือเส้นพันธะ คือไม่มีตัวไฮโดรเจนโดยที่การหักมุมแต่ละจุดจะหมายถึงคาร์บอน ไฮโดรเจนจะไม่เขียน ทุกคนจะต้องทราบเอง ว่าคาร์บอนต้องมีสี่พันธะ เช่น ตำแหน่งนี้คาร์บอนมีหนึ่งพันธะ ที่เหลืออีกสามพันธะต้องเป็นไฮโดรเจน ส่วนตำแหน่งนี้คาร์บอนมีสองพันธะที่เหลืออีกสองพันธะจะต้องเป็นไฮโดรเจน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงธาตุของธาตุบิวเทนแบบลิวอิสจากนั้น • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดเส้นขึ้นมาดังภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้เน้นที่ภาพลำดับ แล้วที่ภาพลำดับที่มีตัวซีขึ้นมาตามมุมจากนั้นเฟดตัวซีหายไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_02.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา บทนำ • สูตรโครงสร้างแบบต่างๆของสารอินทรีย์ พันธะคู่ พันธะสาม • ถ้ามีพันธะคู่หรือพันธะสามมาเกี่ยวข้อง ถ้ากรณีมีพันธะคู่เราจะเขียนเป็นเส้นสองเส้นติดซ้อนกัน ถ้าเป็นพันธะสามจะมีพันธะสามจะมีสามเส้น • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดเส้นขึ้นมาดังภาพลำดับที่จากนั้นแสดงเส้นประล้อมรอบเส้นคู่พร้อมกับมีลูกศรชี้บอกข้อความว่าเป็นพันธะคู่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดเส้นขึ้นมาดังภาพลำดับที่จากนั้นแสดงเส้นประล้อมรอบเส้นสามเส้นพร้อมกับมีลูกศรชี้บอกข้อความว่าเป็นพันธะสาม • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_03.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา บทนำ • สูตรโครงสร้างแบบต่างๆของสารอินทรีย์ H H H O H H C H H C C O C C C H H H H H เฮชทาโรอะตอม Cl O O C C C C C C O • ในกรณีที่มีอะตอมอื่นที่มิใช่คาร์บอนกับไฮโดรเจนเราต้องเขียนขึ้นมา อะตอมอื่นอื่นพวกนี้เรียกว่า เฮชทาโรอะตอม เช่น ถ้ามีออกซิเจนมาเกาะต้องเขียนออกซิเจน หรือ ถ้ามีซีแอลมาเกาะจะต้องเขียนซีแอลขึ้นมา ถ้ามีพันธะคู่ต้องเขียนเป็นสองเส้น ถ้ามีไนโตรเจนก็ต้องเขียนไนโตรเจนขึ้นมาด้วย ซึ่งในโครงสร้างแบบนี้จะเขียนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวก็ได้หรือไม่เขียนก็ได้ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่เฟดเส้นขึ้นมาดังภาพลำดับที่โดยตัวซีเป็นแบบเบลอเบลอและมีวงกลมล้อมรอบตัวโอแล้วมีเครื่องหมายลูกศรชี้บอกพร้อมมีข้อความว่าเฮชทาโรอะตอมขึ้นมา • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้วงกลมและตัวโอสองอันในภาพลำดับที่สองกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดภาพลำดับที่ขึ้นมาโดยเฟดภาพลำดับที่ และออกไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดภาพลำดับที่ ขึ้นมา • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดภาพลำดับที่ ขึ้นมา • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป C N
File :sc124_14_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา บทนำ • สูตรโครงสร้างแบบต่างๆของสารอินทรีย์ C H C C H H H C C C H • สำหรับโครงสร้างแบบที่เป็นวงแหวน ถ้าเราเขียนเป็นลักษณะที่แสดงอะตอมของคาร์บอนและไฮโดรเจนจะดูยุ่งยาก เราจะเขียนในลักษณะที่ไม่แสดงอะตอมของคาร์บอนกับไฮโดรเจน คือเป็นวงแหวน โดยไฮโดรเจนไม่ต้องแสดง โดยต้องทราบว่ามีไฮโดรเจนอยู่หนึ่งตัว • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่เฟดเส้นขึ้นมาดังภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_05.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว(อัลคีนและอัลไคน์) สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน อัลคิลเฮไลด์ อัลกอฮอล์ อีเธอร์ สารประกอบคาร์บอนิล กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ คลิกเลือกหัวข้อเพื่อศึกษารายละเอียด เอมีน • คลิก สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว(อัลคีนและอัลไคน์) link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก อัลคิลเฮไลด์link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก อัลกอฮอล์ link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก อีเธอร์ ilnk ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก สารประกอบคาร์บอนิล link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ link ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก เอมีน ilnk ไป File : sc124_14_01.swf • คลิก แบบฝึกหัดเสริมความเข้าใจ link ไป File : sc124_14_01.swf
File :sc124_14_06.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) alkane H H H H C H H C C C H H H H ธาตุบิวเทน C C C C C butane การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค จะเริ่มจากอัลเคนก่อน มีแค่คาร์บอนกับไฮโดรเจนแล้วต่อกันด้วยพันธะเดี่ยวเท่านั้น วิธีการเรียกชื่อโครงสร้างแบบง่าย เช่น บิวเทน ขั้นตอนแรก สายหลักคือคาร์บอนต่อกันยาวที่สุด จากนั้นนับว่ามีกี่ตัว นับได้สี่คาร์บอน จาก ตารางจะเห็นว่าต้องใช้คำว่าบิวตะ เป็นอัลเคนต้องลงท้ายด้วยเอเอ็นอีเสมอ บิวบวกกับเอนเป็นบิวเทน สารตัวนี้จึงชื่อว่าบิวเทน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่มีคำว่าอัลเคนขึ้นมาแล้วมีภาพลำดับที่ตามด้วยลูกศรและภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงวงกลมสีแดงล้อมรอบตัวซีดังหมายเลข • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ปรากฏตารางขึ้นมาแล้วเน้นไปที่หมายเลขสี่คำว่า but จากนั้นให้เลื่อนคำคำนี้ออกมาที่ข้างล่าง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้ตัวอักษรเอเอ็นอีเคลื่อนที่มายังหมายเลขรวมกับคำว่า but เป็น บิวเทน • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_07.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) alkane 3-Ethylhexane Not 4-Ethyl hexane โครงสร้างจะซับซ้อนมากขึ้นอีกมีกรุ๊ปอีกกรุ๊ปหนึ่งมาเกาะกับสายหลัก ขั้นตอนแรกหาก่อนว่าสายหลักชื่อว่าอะไร ให้นับจำนวนคาร์บอน หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก คาร์บอนเกาะกันยาวที่สุดมีหกตัว จากตารางต้องใช้คำว่า เฮกซะ เป็นอัลเคน ลงท้ายด้วยคำว่าเอน จึงเป็น เฮกเซน ซึ่งคือชื่อของสายหลัก เฮกเซนมีกรุ๊ปมาเกาะ กรุ๊ปที่มาเกาะมีคาร์บอนสองตัวมาเกาะเรียกว่าเอช ถ้าไม่ใช่สายหลักจะไม่ลงท้ายด้วยเอเอ็นอี แต่ลงท้ายด้วยวายแอล กรุ๊ปเล็กเล็กนี้เรียกว่าเอชทิว ซึ่งชื่อสายหลักอยู่ท้ายสุด ชื่อของกรุ๊ปที่มาเกาะจะต้องอยู่ข้างหน้า ชื่อนี้จึงเป็นเอทิลเฮกเซนการเรียกชื่อจะต้องบอกตำแหน่งด้วยว่าอยู่ตำแหน่งใด เอทิลเฮกเซน โดยตัวเลขที่จะใช้นับจากปลายข้างไหนก็ได้ที่ให้เป็นตัวเลขน้อยที่สุดถ้านับจากปลายทางด้านซ้ายจะเห็นว่าเอทิลกรุ๊ปมาเกาะเป็นตำแหน่งที่สามถ้านับจากทางด้านขวาเอทิลกรุ๊ปจะเป็นตำแหน่งที่สี่ ถ้าเทียบกันตำแหน่งที่สามน้อยกว่าตำแหน่งที่สี่ กรุ๊ปที่มาเกาะจะต้องเป็นตัวเลขที่น้อยที่สุดเสมอชื่อที่ถูกต้องจึงเรียกว่า สามเฮชทิวเฮกเซน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏคำว่า อัลเคนขึ้นมาก่อนจากนั้นแสดงตัวเลขสีเขียวขึ้นมาทั้งหกตัวทีละตัวที่แต่ละมุม • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏตารางขึ้นมาจากนั้นหมายเลขหกเฮกกระพริบแล้วเคลื่อนที่ไปอยู่ตำแหน่งที่หนึ่ง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เส้นสีแดงที่มาเกาะกระพริบพร้อมกับหมายเลขสองในตารางกับคำว่าeth กระพริบแล้วเคลื่อนมาอยู่ในตำแหน่งที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ตัวอักษรวายแอลปรากฏขึ้นมาพร้อมกับกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่คำว่า hexane กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่คำว่า ethyl กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่คำว่า ethylhexaneกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏเลขที่เส้นเลขสีเขียวไล่ไปเรื่อยเรื่อยและให้จุดที่เส้นสีแดงมาเกาะมีวงกลมสีแดงมาล้อมรอบเลขสาม • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ปรากฏเลขที่เส้นเลขสีแดงไล่ไปเรื่อยเรื่อยและให้จุดที่เส้นสีแดงมาเกาะมีวงกลมสีแดงมาล้อมรอบเลขสาม • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่3-Ethylhexane กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_08.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) alkane 2,3,5-trimethylhexane Not 2,4,5-trimethylhexane ในกรณีที่มีกรุ๊ปเหมือนเหมือนกันมากกว่าหนึ่งกรุ๊ปจะทำอย่างไรดี เช่นในโมเลกุลนี้จะเห็นว่ามีเมทิลกรุ๊ป ตัวที่มีคาร์บอนตัวเดี่ยวนี้มีเมทิลกรุ๊ปมาเกาะที่สามกรุ๊ป ที่ตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น ที่ตำแหน่งสองสามและห้า เพราะฉะนั้นเราจึงสามารถนำทั้งสามกรุ๊ปมารวมกันและใช้คำว่าไตรนำหน้าคำว่าเมทิล จึงมีชื่อว่า สองสามห้าไตรเมทิล คำว่าไตรเมทิลหมายถึงสาม ไดคือสองกรุ๊ป และ ถ้าเป็นสี่กรุ๊ปคือเตตระ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏคำว่า อัลเคนขึ้นมาก่อนจากนั้นแสดงตัวเลขสีเขียวขึ้นมาทั้งหกตัวทีละตัวที่แต่ละมุมจากทางขวามือจากนั้นให้มีข้อความคำว่า hex เลื่อนมาจากตารางและปรากฏขึ้นมาพร้อมกับคำว่าเอเอ็นอีเลื่อนมาจากข้างบนและคำว่าmeth เลื่อนมาจากตารางมาอยู่ในตำแหน่งที่สี่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้วงกลมสีแดงในหมายเลขสองสามห้ากระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้คำว่า 2,3,5-tri กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_09.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) 3,3-Dimethylpentane 2,4-Dimethylheptane 2,2,4-Trimethylheptane มาดูตัวอย่างกันถ้ามีเมทิลกรุ๊ปสองกลุ่มเหมือนกันจะใช้คำว่าได ที่นี้เมทิลกรุ๊ปแต่ละกรุ๊ปต้องบอกตำแหน่งด้วยว่ามาเกาะที่สายหลักของเราที่ตำแหน่งเท่าไร เช่นในกรณีนี้มาเกาะที่ตำแหน่งที่สามเหมือนกันทั้งสองกรุ๊ปจะต้องเขียนว่าสามสามไดเมนเทิวเพนเทน จะเขียนเลขสามตัวเดียวไม่ได้ต้องเป็นสามสาม ตัวอย่างที่สองเป็นสองสี่จะเป็นสองสี่ไดเมนทิว ตัวอย่างสุดท้ายคือสองสองสี่ไตรเมทิลเฮพเทน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏเส้นพันธะลำดับที่หนึ่งขึ้นมาก่อน • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ให้วงกลมสีแดงในหมายเลขสามกระพริบจากนั้นคำว่า 3,3-Dimethylpentane กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่เฟดภาพลำดับที่ขึ้นมาให้วงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ เฟดภาพลำดับที่ขึ้นมาให้วงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_10.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) alkane 3-Methyl-5-propylnonane ตัวอย่างกรณีที่มีกรุ๊ปมาเกาะมีชื่อไม่เหมือนกัน ถ้ามีคาร์บอนตัวเดียวเป็น เมทิล อีกกรุ๊ปหนึ่งมีคาร์บอนสามตัวจึงเป็นโพรพิล เมทิลอยู่ตำแหน่งที่สาม โพรพิลอยู่ตำแหน่งที่ห้า การเรียงลำดับระหว่างเมทิลกับโพรพิลว่าอะไรจะอยู่ก่อนกัน การเรียงลำดับจะเรียงลำดับตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเอ็มมาก่อนตัวพีดังนั้น เมทิลจึงต้องอยู่หน้าโพรพิล • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏเส้นพันธะลำดับที่หนึ่งขึ้นมาก่อนและแสดงตัวเลขสีเขียว พร้อมกับแสดงตารางจากนั้นให้เลื่อนคำว่าเอเอ็นอีมาอยู่ในตำแหน่งที่หนึ่ง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ จากนั้นคำว่า methy เลื่อนจากตารางลงมาที่ตำแหน่งที่เจ็ดสีเขียวพร้อมกับวงกลมที่หมายเลขสามกระพริบและปรากฏเลขสามที่หน้าคำว่า methy • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ วงกลมที่หมายเลขห้ากระพริบและคำว่า prop เลื่อนจากตารางลงมาอยู่ในตำแหน่งที่สี่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ คำว่า methy กระพริบพร้อมกับคำว่า 5-propyl กระพริบด้วย • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_11.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) alkane 4-Ethyl-2-methylhexane อันนี้ก็คือเป็นลองให้เรียกลำดับดูนะว่าถ้าเรามีเอทธิลกรุ๊ปเกาะอยู่ตำแหน่งที่สี่ กับเมทธิลกรุ๊ปเกาะตำแหน่งที่สอง และสายหลักของเราก็คือ เฮกเซน เราจะต้องเรียกโมเลกุลนี้ว่าสองเมทธิลสี่เอทธิลเฮกเซน หรือว่า สี่เอทธิลสองเมทธิลเฮกเซน ก็คือเรามาเทียบกันตัวอีก็คือต้องมาก่อนตัวเอ็มนะ ชื่อที่ถูกต้องก็คือ สี่เอทธิลสองเมทธิลเฮกเซน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ปรากฏเส้นพันธะลำดับที่หนึ่งขึ้นมาก่อนและแสดงตัวเลขสีเขียว พร้อมกับแสดงตารางจากนั้นให้เลื่อนคำว่าเอเอ็นอีมาอยู่ในตำแหน่งที่หนึ่ง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ จากนั้นคำว่า methy เลื่อนจากตารางลงมาที่ตำแหน่งที่เจ็ดสีเขียวพร้อมกับวงกลมที่หมายเลขสามกระพริบและปรากฏเลขสามที่หน้าคำว่า methy • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ จากนั้นคำว่า4-Ethyl-2-methylhexane กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_12.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) -Ethyl- , -dimethyldecane ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ แบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 5-Ethyl-4,4-dimethyldecane • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_13.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) -Cyclo- Cyclopropane Cyclopentane Methylcyclohexane 1,2-Dimethylcyclobutane ถ้าโมเลกุลที่เป็นวงแหวนป็นไซกริด หน้าชื่อของเราต้องเติมคำว่าไซโครเข้าไป ซีวายซีแอลโอไซโคร อย่างเช่นถ้ามันเป็นวงแหวนสามเหลี่ยมก็คือไซโครโพเพน วงสี่เหลี่ยมก็คือไซโครบิวเพน ห้าเหลี่ยมก็คือไซโครเพนเทน หกเหลี่ยมก็คือไซโครเฮกเซน ที่นี้กรุ๊ปที่มันมาเกาะเราก็ต้องใส่ตำแหน่งลงไปด้วย อย่างเช่นหนึ่งสองไดเมทธิลไซโครบิวเทนก็คือตำแหน่งที่มันมีเมทธิลกรุ๊ปไปเกาะเราจะให้เป็นตำแหน่งที่หนึ่งเสมอ อย่างเช่นดูตัวอย่างของเมทธิวไซโครเฮกเซน เมทธิลกรุ๊ปไปเกาะตำแหน่งที่เมทธิลกรุ๊ปไปเกาะเราจะให้มันเป็นตำแหน่งที่หนึ่งเสมอ เพราะฉะนั้นในการเรียกชื่อเราจะเขียนเลขหนึ่งหรือไม่เขียนก็ได้ โดยทั่วไปไม่ต้องเขียนเพราะว่าทุกคนก็รู้อยู่แล้วว่ามันเป็นตำแหน่งที่หนึ่ง • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่หนึ่งโดยมีคำว่า Cyclo กระพริบจากนั้นคำว่าpropaneกระพริบด้วย • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้เฟดภาพลำดับที่หนึ่งหายไปเฟดภาพลำดับที่เข้ามาที่กลางหน้าจอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้เฟดภาพลำดับที่หายไปเฟดภาพลำดับที่เข้ามาที่กลางหน้าจอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้เฟดภาพลำดับที่หายไปเฟดภาพลำดับที่เข้ามาที่กลางหน้าจอพร้อมกับคำ1,2-Dimethylcyclobutane กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้เฟดภาพลำดับที่หายไปเฟดภาพลำดับที่เข้ามาที่กลางหน้าจอพร้อมกับคำ Methylcyclohexane กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_14.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว (อัลคีนและอัลไคน์) alkene CH2=CH2 Ethene CH3-CH=CH2 Propene ที่นี้ก็จบในเรื่องของเอาเคน เราจะมาเริ่มเรื่องของเอาคีน การเรียกชื่อของเอาคีนก็คือคล้ายๆ กับการเรียกชื่อของเอาเคนแต่ว่าเอาคีนลงท้ายด้วย อีเอ็นอี ชื่อของสายหลักของเราจะลงท้ายด้วยอีเอ็นอี อย่างเช่นถ้ามีคาร์บอนสองตัว จากตารางเราก็ต้องรู้ว่าเราต้องใช้คำว่าเอช บวกกับอีน ก็จะได้เป็นอีทีน ถ้ามีคาร์บอนสามตัวก็จะเป็น โพรพีน ที่นีเราต้องบอกตำแหน่งด้วยว่าพันธะคู่มันอยู่ตำแหน่งที่เท่าไหร่ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่คำว่า ene กระพริบและเลื่อนลงมาที่ตำแหน่งข้างล่างตามทิศทางลูกศรจากนั้นคำว่า eth ในตารางก็กระพริบและเลื่อนมาตามทิศทางลูกศรที่แสดงจากนั้นคำว่า ethene กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ คำว่า ene กระพริบและเลื่อนลงมาที่ตำแหน่งข้างล่างตามทิศทางลูกศรจากนั้นคำว่า prop ในตารางก็กระพริบและเลื่อนมาตามทิศทางลูกศรที่แสดงจากนั้นคำว่า propene กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_15.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว (อัลคีนและอัลไคน์) alkene butene 2-butene จะเห็นว่าสารสองตัวแรกคือบิวทีนเหมือนกันแต่มันเป็นสารคนละตัว ตัวแรกพันธะคู่อยู่ตำแหน่งที่หนึ่ง ส่วนตัวที่สองพันธะคู่อยู่ตำแหน่งที่สอง เพราะฉะนั้นตัวแรกจะชื่อว่าหนึ่งบิวทีน ในขณะตัวที่สองจะชื่อว่าสองบิวทีน โดยที่เรามาดูตัวอย่างที่หนึ่งก่อน ตัวนี้ เราจะเห็นว่าเราสามารถนับเริ่มเลขหนึ่งจากทางด้านไหนก็ได้มันมีสองแบบใช่ไหมครับ จะเห็นได้ว่าถ้านับจากทางด้านซ้าย ตัวนี้พันธะคู่จะอยู่ตำแหน่งที่สาม แต่ถ้าเรานับจากทางด้านขวา พันธะคู่จะอยู่ตำแหน่งที่หนึ่ง เพราะฉะนั้นเราต้องรู้ว่าคำตอบที่ถูกเราต้องเริ่มจากด้านไหนก็คือต้องเริ่มทางด้านที่เป็นตัวเลขที่น้อยที่สุด ข้อนี้ก็คือหนึ่ง บิวทีน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่เฟดภาพกลับไปที่ข้อความลำดับที่หนึ่งพร้อมกับวงกลมสีแดงล้อมรอบตรงพันธะคู่และกระพริบตัวเลขสีแดงกระพริบแสดงตำแหน่งจากนั้นเฟดหายไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ที่ข้อความลำดับที่ให้เลขสีเขียวกระพริบพร้อมกับวงกลมสีแดงกระพริบด้วย • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_16.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว (อัลเคน) -methyl- -pentene ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ แบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 3-methyl-2-pentene • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ
File :sc124_14_17.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว (อัลคีนและอัลไคน์) alkene cyclohexene 3,4-dimethylcyclohexene มาดูในกรณีที่มันเป็นวงแหวนบ้าง ถ้าเป็นวงแหวนหกเหลี่ยมมีพันธะคู่อยู่ข้างในเราก็จะเรียกว่าเป็นไซโครเฮกซีน ก็คือจะลงท้ายด้วยคำว่า อีเอ็นอี ที่นี้พันธะคู่เราต้องระบุไหมว่ามันอยู่ตำแหน่งที่เท่าไหร่ ก็คือตำแหน่งของพันธะคู่จะต้องตำแหน่งที่หนึ่งเสมอ เพราะฉะนั้นกรณีนี้เราก็เลยไม่ต้องเขียนเลขหนึ่งเอาไว้ ก็คือทุกคนต้องรู้ว่าหนึ่งไซโครเฮกซีน ที่นี้ลองมาดูตัวอย่างถัดไปก็คือ สามสี่ไดเมทธิลไซโครเฮกซีน เนื่องจากว่าตำแหน่งของพันธะคู่มันจะต้องเป็นหนึ่งเสมอ ที่นี่ในตัวอย่างมันก็สามารถเรียงตัวเลขได้สองแบบ ก็คือ แบบที่หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เรียงแบบนี้ กับอีกแบบหนึ่ง เริ่มตำแหน่งที่หนึ่งจากตรงนี้ สอง สาม สี่ ห้า หก จะเห็นว่าแบบที่หนึ่ง เมทธิลกรุ๊ปจะอยู่ตำแหน่งที่สามกับสี่ ในขณะที่แบบที่สอง เมทธิลกรุ๊ปจะอยู่ตำแหน่งที่ห้ากับหก คำตอบที่ถูกก็คือต้องเป็นแบบแรก เพราะว่าเป็นตัวเลขที่น้อยกว่า ตัวนี้จะชื่อว่าสามสี่ไดเมทธิลไซโครเฮกซีน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตัวเลขสีแดงกระพริบจากนั้นเฟดหายไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตัวเลขสีเขียวกระพริบจากนั้นแสดงวงกลมสีเขียวล้อมรอบแล้วเฟดหายไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตัวเลขสีแดงกระพริบพร้อมกับวงกลมสีแดงล้อมรอบพร้อมทั้งชื่อ3,4-dimethylcyclohexene กระพริบด้วย • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_18.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว (อัลคีนและอัลไคน์) alkyne ethyne (or acetylene) มาดูเอาคายก็คือต้องมีพันธะอยู่ในโมเลกุลถ้ามีคาร์บอนสองตัวมาเกาะกันที่พันธะสาม คาร์บอนสองตัวใช้คำว่า เอช เอาคายก็ต้องลงท้ายด้วยคำว่า อาย วายเอ็นอี เอาสองคำนี้มารวมกัน ก็จะได้เป็น อีทาย หรือบางคนก็เรียกว่าเป็น อะเซสเทอรีน ก็คือชื่ออีทายเป็นชื่อตามระบบไอยูแพ็ค ส่วนอะเซสเทอรีนก็คือเป็นชื่อที่เค้านิยมใช้กันแต่ว่าไม่ใช่ระบบไอยูแพ็ค • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่และข้อความลำดับที่สองกระพริบจากนั้นให้วายเอ็นอีเลื่อนลงมาที่ตามลูกศรและคำว่า eth เลื่อนจากตารางมายังหน้าคำว่า yne • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่ • กระพริบ และข้อความลำดับที่ กระพริบทั้งสองคำ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_19.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน Benzene bromobenzene nitrobenenez ethylbenzene ที่นี่ถ้าเป็นสารประกอบอะโรมาติคบ้าง ก็คือมันจะเป็นวงแหวนหกเหลี่ยมใช่ไหมครับและก็มีพันธะคู่ข้างในสามวง อันนี้เราจะเรียกโมเลกุลนี้ว่าเป็น ซีน ถ้าเรามีเอทธิลมาเกาะอยู่ที่วงเบนซีน ตัวนี้เราก็เรียกว่าเป็น เอทธิลเบนซีนถ้ามีโรลมีนมาเกาะ ก็จะเป็น โรโมเบนซีน ก็คือถ้ามีพวกแคลโรเจนเราจะขึ้นต้น อย่างเช่นถ้ามี ซีแอลก็คือต้องเป็นคอโรล ถ้ามีโบลมีนมาเกาะก็คือ โบโม ถ้ามีไอโอดีนมาเกาะก็คือไอโอโด ไนโตรกรุ๊ปเอนโอสองก็ใช้คำว่าไนโตรเบนซีน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่เส้นคู่พร้อมกับวงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ยังไม่มีบีอาร์มาเกาะ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ให้มีคำว่า บีอาร์มาเกาะ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่มีตัวเอ็นและโอมาเกาะ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_20.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน ฟีนอล (Ph-OH) Toluene (methyl Benzene) มาดูตัวอย่างกัน เมทธิลเบนซีนเป็นสารที่เราใช้กันมากในห้องปฏิบัติการแต่ว่าเรามักจะรู้จักกันในชื่อของโทรูอีน ซึ่งเมทธิลเบนซีนเป็นชื่อของ ไอยูแพค แต่ว่าเขาไม่ได้นิยมเรียกกัน เค้ามักจะเรียกตัวนี้ว่า โทรูอี อีกตัวหนึ่งก็คือไฮด๊อกซีเบนซีน ตัวนี้ก็ใช้บ่อยแต่ว่าเราจะเรียกว่าเป็นฟีนอล ดังนั้นทุกคนต้องรู้ชื่อของที่ไม่ใช่ระบบไอยูแพคด้วย • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_21.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลคิลเฮไลด์ Br 2-chloropropane 2-bromopropane อย่างเช่นถ้าเรามีคลอรีนมาเกาะกับโมเลกุลของโพรเพนที่ตำแหน่งที่สอง ตัวนี้เราจะเรียกว่าเป็นสองคลอโลโพรเพน ถ้ามีโบรมีนมาเกาะเราก็จะเรียกว่าเป็นสองโบรโมบิวเทนเหมือนตัวอย่าง • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ ให้ตัวซีแอลและวงกลมรอบรอบกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ ให้ตัวบีอาร์และวงกลมที่ล้อมรอบกระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_22.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลกอฮอล์ alcohol Propanaol มาดูการเรียกชื่อของแอลกอฮอล์บ้าง การเรียกชื่อของแอลกอฮอล์ต้องลงท้ายด้วยคำว่า โอแอล อย่างเช่นถ้าเรามีคาร์บอนสามตัว ก็คือต้องใช้คำว่าโพรเพน รวมถึงเป็นแอลกอฮอล์ก็ต้องลงท้ายด้วยโอแอล ก็คือจะเป็นโพรพานอล • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่และภาพลำดับที่สอง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ แสดงตัวเลขหนึ่งถึงสามในจุดหักของแต่ละมุม • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงการเลื่อนคำว่า โอแอลเลื่อนลงมาอยู่ต่อจากคำว่า Propan • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_23.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลกอฮอล์ alcohol Ethanol 1-Propanol 2-Propanol Methanol สำหรับตัวอย่างให้เราดูว่าคาร์บอนหนึ่งตัวก็คือเกาะกับโอเอชกรุ๊ปก็คือ เมททานอล คาร์บอนสองตัวเกาะกับไฮดรอกซี่กรุ๊ปก็คือเอททานอลถ้ากรณีของสองโพรพานอล เราจะเห็นว่าโอเอชกรุ๊ปมาเกาะกับโมเลกุลของโพรเพนแต่อยู่ตำแหน่งที่สองเพราะฉะนั้นเราต้องระบุตำแหน่งไปด้วยว่าเป็นสองโพรพรานอลซึ่งมันจะแตกต่างจากคำว่าหนึ่งโพรพรานอล • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_24.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลกอฮอล์ alcohol cyclobutanol ถ้าเป็นวงแหวนก็คือเติมคำว่าไซโครเข้าไปอย่างเช่นกรณีก็จะเป็นไซโครบิวทานอล ถ้ามีกรุ๊บต่างๆมาเกาะอยู่ในโมเลกุลของแอลกฮอลก์จะต้องเริ่มนับจากปลายด้านที่โอเอชกรุ๊ปเป็นตัวเลขน้อยที่สุดส่วนกรุ๊ปอื่นอื่นจะเป็นตัวเลขเท่าไรก็แล้วแต่ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่พร้อมข้อความลำดับที่ และค่อยค่อยแสดงเลขหนึ่งถึงสี่ที่สี่เหลี่ยม • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่แสดงข้อความ โอเอช ลากต่อออกมา • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_25.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลกอฮอล์ alcohol 4,4-dimethyl-2-pentanol เช่นกรณีนี้เริ่มหนึ่งจากทางด้านขวา สอง สาม สี่ ห้า จะเห็นว่าตำแหน่งที่สองมีโอเอชกรุ๊ปมาเกาะ ตำแหน่งที่สี่มีเมทิลกรุ๊ปมาเกาะ เมทิลสองตัวเรียกว่าได ดังนั้นจึงมีชื่อว่าสี่สี่ไดเมนทิลสองเพนทิลนอล เลขสองตัวนี้กำลังบอกว่าโอเอช กรุ๊ปเกาะอยู่ที่ตำแหน่งที่สอง • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่พร้อมภาพลำดับที่ และแสดงเลขทีละตัวจนครบห้าตัวเมื่อครบห้าตัว คำว่า pent กระพริบโดยเลื่อนออกมาจากตารางมาอยู่ในตำแหน่งที่แสดง • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงข้อความลำดับที่แสดงเส้นต่อเนื่องออกจากหมายเลขสองโดยมีข้อความว่าโอเอชกำกับอยู่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงเส้นต่อเนื่องต่อออกมาจากตำแหน่งที่สี่สองเส้น พร้อมกับคำว่า di กระพริบด้วย • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ชื่อเต็ม4,4-dimethyl-2-pentanol ทั้งหมดกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่คือ โอเอชกระพริบพร้อมกับตัวเลขสองที่ชื่อกระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_26.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อัลกอฮอล์ -penten- -ol ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ มาลองทำแบบฝึกหัดกัน จากแบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 4-penten-2-ol • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ
File :sc124_14_27.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อีเธอร์ Ether Ethyl ethylether Diethyl ether การเรียกชื่อของอีเธอร์ การเรียกชื่อของอีเธอร์แบบง่ายง่ายให้ดูอัลทิลกรุ๊ปทั้งสองข้างของเป็นกรู๊ปอะไรบ้าง สองข้างของออกซิเจนเป็นเอทิลกรุ๊ปตรงนี้จึงเรียกว่าเอทิลเอทิลอีเธอร์ ให้เรียกชื่อเอทิลทั้งสองกรุ๊ป และ ตามด้วยคำว่าอีเธอร์ ถ้าชื่อเหมือนกัน อาจจะรวมกันเป็นไดเอทิลอีเธอร์ก็ได้แทนที่จะเรียกเอทิลเอทิลอีเธอร์ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่พร้อมข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่คือให้วงกลมทั้งสองข้างกระพริบจากนั้นปรากฎช้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_28.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • อีเธอร์ ethyl ether ตรวจคำตอบ เป็นแบบฝึกหัดให้นักศึกษาทำถ้าข้างหนึ่งเป็นวงแหวนสามเหลี่ยมอีกข้างเป็นคาร์บอนสองตัวตัวหนึ่งต้องเรียกว่าอะไร ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ Cyclopropyl ethyl ether • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_29.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล คีโตน อัลดีไฮด์ butanal • ถ้าอัลดีไฮด์เป็นหมู่ที่มีอันดับหมู่ฟังก์ชันนัลสูงสุดให้ลงท้ายชื่อของสายหลักด้วย “-al” การเรียกชื่อของอัลดีไฮด์กับคีโตน เริ่มจากอัลดีไฮด์กันก่อนสารประกอบอัลดีไฮด์จะลงท้ายด้วยเอแอล มีคาร์บอนอยู่สี่ตัวคือต้องใช้คำว่าบิวตะ บิวเทน เป็นอัลดีไฮด์ลงท้ายด้วยเอแอล ตัวนี้จึงเรียกว่าเป็นบิวทานอลการออกเสียงจะคล้ายบิวตะนอลซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องระวัง อัลดีไฮด์ต้องอยู่ปลายสายเสมอเพราะจะต้องเป็นตำแหน่งที่หนึ่งเสมอโดยไม่ต้องระบุตำแหน่งก็ได้ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_30.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล methanal or formaldehyde ethanal or acetaldehyde ตัวอย่างถ้าเรามีคาร์บอนเพียงตัวเดียวตัวนี้เราจะเรียกว่าเมทาธอล คือคำว่ามีเทนลงท้ายด้วยเอแอล ตัวนี้ชื่อทั่วไปจะเรียกว่าฟอร์มาดีไฮด์ ทุกคนต้องรู้จักทั้งชื่อที่เป็นชื่อสามัญและชื่อไอยูแพค และถ้ามีถ้ามีคาร์บอนสองตัวคือเป็นเอชทานอลหรือเป็นที่นิยมเรียกกันว่าอะเซตทาดีไฮด์ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_31.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล , -dimethylpentanal ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ แบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 4,4-dimethylpentanal • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_32.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล • การเรียกชื่อของคีโตน • คำเสริมท้าย (Suffix): -one • คำเสริมหน้า (Prefix): oxo 2-pentanone กรณีที่เป็นคีโตน คีโตนจะอยู่ตำแหน่งไหนก็ได้จำเป็นต้องระบุตำแหน่งลงไปด้วย เช่น ตัวอย่างแรกมีคาร์บอนอยู่ห้าตัวต้องใช้คำว่าเพนตะ เพนเทน หมู่คาร์บอนิลอยู่ตำแหน่งที่สอง ตัวนี้ชื่อว่าสองเพนทาโนล คีโตนลงท้ายด้วยโอเอ็นอี • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงวงกลมสีแดงล้อมรอบที่ตำแหน่งที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_33.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล การเรียกชื่อของคีโตนทำได้สองแบบ คือ ลงท้ายชื่อของสายหลักด้วย “-one” เช่น 2-propanone เรียกชื่อหมู่อัลคิลทีละข้างตามด้วยคำว่า “ketone” 2-propanone or dimethyl ketone or acetone ถ้ามีคาร์บอนอยู่สามตัวคือโพรพาโนล อย่าลืมระบุตำแหน่งของหมู่คาร์บอนิลด้วยว่าอยู่ตำแหน่งที่เท่าไร อันนี้คือสองโพรพาโนล เนื่องจากมีคาร์บอนแค่สามตัว และคีโตนจะอยู่ตำแหน่งตรงปลายไม่ได้ ดังนั้น โพรพาโนลไม่ต้องระบุตำแหน่งก็ได้ไม่เป็นไร • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงวงกลมสีแดงล้อมรอบที่ตำแหน่งที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตัวเลขหนึ่งสองสามกระพริบและพร้อมกับแสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_34.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล -pentanone or diethyl ketone ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ มาลองทำแบบฝึกหัดกัน จากแบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 3-pentanone or diethyl ketone • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_35.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล • หมู่คาร์บอนิลของคีโตนอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของวงแหวน • กรณีที่มีพันธะคู่หรือพันธะสามในโมเลกุลให้ระบุตำแหน่งของพันธะคู่หรือพันธะสามให้หน้าชื่อของสายหลักและระบุตำแหน่งของหมู่คาร์บอนิลไว้หน้า “-one” • ถ้ามีหมู่คาร์บอนิลมากกว่าหนึ่งหมู่ก็สามารถใช้คำว่า di, tri,… ในการบอกจำนวนได้ cyclobutanone กรณีที่เป็นวงแหวนคีโตนที่เป็นวงแหวนเราจะนับจำนวนคาร์บอน ในวงมีสี่ตัวจึงเป็นไซโคลนบิวทาโนล ซึ่งตำแหน่งของคาร์บอนิลกรุ๊ปจึงเป็นตำแหน่งที่หนึ่ง ดังนั้นเราจึงไม่ต้องใส่ตำแหน่งลงไป • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่พร้อมกับแสดงข้อความทั้งสามลำดับจากนั้นให้หมายเลขสีแดงหนึ่งถึงสี่กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ มีวงกลมสีแดงวงกลมล้อมรอบหมายเลขหนึ่งดังที่แสดง พร้อมกับชื่อ cyclobutanone กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_36.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล 4-penten-2-one กรณีมีหมู่คีโตนและพันธะคู่ในโมเลกุลด้วย ถ้าเรานับจำนวนคาร์บอนจะได้ห้าตัวเป็นเพนทีน เนื่องจากมีหมู่ของคีโตนอยู่จึง เป็นเพนทีนโนล แต่ละตำแหน่งของพันธะคู่ และคาร์บอนนิลกรุ๊ป ต้องใส่ตัวเลขลงไปด้วย จะได้เป็นสี่เพนทีสองโอ ตำแหน่งของคาร์บอนิลกรุ๊ปเลขสองจะแทรกไว้หน้าชื่อหน้าโอเอ็นอี • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงคำว่า penten one กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงวงกลมล้อมรอบและวงกลมสีเขียวล้อมรอบและกระพริบพร้อมกับจะแสดงตัวเลขสี่หน้าคำว่า penten • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความหมายเลขสองและโอเอ็นอี • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_37.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • สารประกอบคาร์บอนิล , -pentadione ตรวจคำตอบ พิมพ์คำตอบลงในช่องว่างและคลิกปุ่มตรวจคำตอบเพื่อดูว่าทำถูกต้องหรือไม่ มาลองทำแบบฝึกหัดกัน จากแบบฝึกหัดให้ลองทำว่า สายหลักเราจะเรียกว่าอะไรดี กรุ๊ปที่มาเกาะแต่ละกรุ๊ปมันชื่ออะไร ถ้าเหมือนกันจะต้องทำยังไง ลองทำกัน • การนำเสนอมีดังนี้ ทำกิจกรรมเป็นการเติมคำลงในช่องว่าง • คำตอบ 2,4-pentadione • คลิกตรวจคำตอบจะปรากฏป๊อบอัพ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_38.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ • การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิกคำเสริมท้าย = -oic acid • หมู่คาร์บอกซิลิกอยู่ติดกับวงแหวนให้เปลี่ยนคำเสริมท้ายเป็น -carboxylic acid • คำเสริมหน้า = carboxy-อะตอมของคาร์บอนของกรดคาร์บอกซิลิก (-CO2H หรือ COOH) จะอยู่ที่ปลายโซ่ ทำให้มันเป็นตำแหน่งที่หนึ่งเสมอ จึงไม่จำเป็นต้องระบุตำแหน่งของมัน การเรียกชื่อของสารประกอบคาร์บอกซิลิก เอซิก เป็นกรดคาร์บอกซิลิก ลงท้ายด้วยโออิกเอซิก ถ้ามีคาร์บอนสองตัว ต้องใช้คำว่าเอช ลงท้ายด้วย โออิกเอซิส ตัวนี้จึงชื่อว่า เอชทาโนอิกเอซิส ใช้คำว่าอีเธนแล้วลงท้ายด้วยโออิกเอซิส หรือ ชื่อที่นิยมใช้คือ อะซิติกเอซิก ถ้ามีคาร์บอนสามตัวจะมีชื่อว่าโพรพาโนอิกเอซิสถ้าคาร์บอนสี่ตัวจะเรียกว่าบิวทาโนอิกเอซิส • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_39.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ เป็นการเรียกชื่ออนุพันธ์ของกรดคาร์บอนซิลิกเอสเทอร์เอไมด์แอนไฮไดรด์ เอซิลคลอไรด์ และ ไนไตรล์ ให้ดูตามตารางว่าแต่ละตัวลงท้ายตามตารางว่าอะไรบ้างลองดูทีละตัวเลย • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตารางขึ้นมาก่อน • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตารางหมายเลขให้กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตารางหมายเลขให้กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตารางหมายเลขให้กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตารางหมายเลขให้กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงตารางหมายเลขให้กระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_40.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ Propanoic_anhydride ตัวอย่างการเรียกชื่อของอนุพันธ์ เริ่มจากแอซิสคลอไรด์ มีคาร์บอนอยู่สามตัวมีฟังก์ชันกรุ๊ปเป็น แอสซิสคลอไรด์ คาร์บอนสามตัวเรียกว่าเป็นโพรเพน แอสซิสคลอไรด์ต้องลงท้ายด้วยโออิวคลอไดร์ จึงเรียกชื่อว่าเป็นโพพาโนอิวคลอไรด์ แอนไฮดรายจะลงท้ายด้วยโออิกแอนไฮดราย ถ้ามีคาร์บอนสองตัวเรียกว่าเอชทาโนอิกแอนไฮดราย ถ้าคาร์บอนสามตัวเป็นเป็นโพรพาโนอิดแอนไฮดราย • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงเลขหนึ่งถึงสามกระพริบ • ให้ชื่อของสารPropanoic_anhydrideกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่วงกลมสีแดงสองอันข้างบนกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ วงกลมสีแดงสองอันข้างบนและอันข้างล่างก็กระพริบด้วย • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_41.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ propanoylchloride Methyl methanoate การเรียกชื่อของเอสเธอร์ จะต้องรู้ว่ามีออกซิเจนตัวนี้มีอัลธิลกรุ๊ปมาเกาะ จะเรียกชื่ออัลธิลกรุ๊ปนี้ก่อน แล้วค่อยนับคาร์บอนของอีกฝั่ง โดยที่อัลธิลกรุ๊ปที่มาเกาะ กับออกซิเจนจะลงท้ายด้วยวายเอล ส่วนชื่อของคาร์บอนที่เป็นสายหลักจะลงท้ายด้วยโอเอช เช่นตัวอย่างอัลทิลกรุ๊ปที่มาเกาะจะมีตัวเดียวตัวเดียวจะใช้คำว่าเมทิล อีกข้างมีคาร์บอนสองตัวจะใช้คำว่าเอช จึงชื่อ เมทิลเมทธาโนเอท • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความหมายเลขหนึ่งและวงกลมสีแดงกระพริบพร้อมกับตัวโอกระพริบและชื่อ propano กระพริบด้วย • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงคำว่า วายเอล กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดง วงกลมสีเขียวและคำว่าโอเอชกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่เฟดภาพลำดับที่หนึ่งหายไปเฟดภาพลำดับที่สองเข้ามาแทนที่ วงกลมสีแดงกระพริบด้วยพร้อมกับชื่อกระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_42.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ Propyl butanoate propyl_butanoate ตัวอย่างอัลธิลกรุ๊ปที่เกาะกับออกซิเจน มีคาร์บอนสามตัว อีกด้านมีคาร์บอนสี่ตัว การเรียกชื่อต้องเริ่มจากข้างคาร์บอนสามตัวก่อนจึงเป็นโพรพิวบิวทาโนเอท ส่วนข้างที่มีคาร์บอนสี่ตัวจึงเรียกว่าบิวทาโนเอช ดังนั้นสารนี้จึงชื่อว่าโพรพิลบิวทาโนเอช • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยาย ให้แสดงภาพลำดับที่ข้างที่มีหมายเลขสองกระพริบก่อน • เมื่อมีเสียงบรรยายให้แสดงภาพลำดับที่ข้างที่มีหมายเลขสามกระพริบก่อน • เมื่อมีเสียงบรรยาย ให้แสดงภาพข้างที่มีหมายเลขสองกระพริบพร้อมกับมีคำว่า proply ชี้ออกมา • เมื่อมีเสียงบรรยาย ให้แสดงภาพข้างที่มีหมายเลขสามกระพริบพร้อมกับมีคำว่า butanoate ชี้ออกมา • เมื่อมีเสียงบรรยาย ให้แสดงชื่อหมายเลขและกระพริบ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_43.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ propanamide สารประกอบเอมายด์ คล้ายกันลงท้ายด้วยเอมาย กรณีนี้มีคาร์บอนสามตัวจึงเรียกว่าเป็นโพรพานามายด์ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายให้แสดงภาพลำดับที่จากนั้นแสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_44.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • เอมีน การเรียกชื่อของเอมีนซึ่งเอมีนหน้าตาคล้ายกับแอมโมเนีย ถ้าไนโตรเจนเกาะกับไนโตรเจนสามตัวเรียกว่า แอมโมเนีย ถ้าเปลี่ยนไนโตรเจนตัวหนึ่งไปเป็นอัลธิลกรุ๊ปอะไรก็ได้จะเรียกว่าเป็นไพรมารีเอมีน ถ้ามีอาร์กรุ๊ปสองกรุ๊ปจะเป็นเซคคัลดารีเอมีน ถ้ามีอาร์กรุ๊ปสามกรุ๊ปเป็นเทชเชอรี่เอมีน ถ้ามีอาร์กรุ๊ปสี่กรุ๊ปจะเป็นควอเทนนารีเอมีน โดยใช้เป็นสัญลักษณ์คือเลขหนึ่งมีเครื่องหมายองศา • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่โดยวงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่แสดงภาพลำดับที่ โดยวงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ โดยวงกลมสีแดงกระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป แอมโมเนีย 1o 2o 3o 4o
File :sc124_14_45.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • เอมีน เอมีนปฐมภูมิ คำเสริมท้าย = -amine คำเสริมหน้า = amino การเรียกชื่อเอมีนปฐมภูมิมีอยู่ด้วยกันสองแบบ เรียกเป็น alkyl amine เรียกเป็น alkanamine ethylamine or ethanamine การเรียกชื่อแบบไพรมารีเอมีนกันก่อน ถ้ามีคาร์บอนสองตัวจะได้เป็นเอททิลลงท้ายด้วยเอมีน จะได้เป็นเอทิลนามีน หรือเรียกว่า เอทานามีนก็ได้สามารถเรียกได้สองแบบ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายให้แสดงภาพและชื่อพร้อมข้อความทั้งสามข้อความ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_46.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • เอมีน cyclobutylamineor cyclobutanamine ถ้าเป็นวงแหวนสี่เหลี่ยมเรียกว่าไซโคลบิวทิวลงท้ายด้วยเอมีน คือเป็นไซโคบิวทิวเอมีน หรือไซโครบิวทานามีนก็ได้ • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายให้แสดงภาพลำดับที่จากนั้นแสดงข้อความลำดับที่ และ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป
File :sc124_14_47.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การเรียกชื่อตามระบบไอยูแพค • เอมีน • การเรียกชื่อเอมีนทุติยภูมิ • หมู่อัลคิลทั้งสองหมู่แตกต่างกัน หมู่ที่มีจำนวนอะตอมของคาร์บอนต่อกันเป็นสายยาวมากกว่าจะเป็นสายหลัก • สายที่น้อยกว่าจะเป็นหมู่แทนที่ • ตัวอักษร N ใช้สำหรับระบุว่าหมู่อัลคิลเกาะอยู่กับอะตอมของไนโตรเจน N-methylethyl amine หรือN-methylethanamine เซคคัลดารีเอมีน จะมีมีเมทธิลกรุ๊ปสองกรุ๊ปมาเกาะดูว่าตัวไหนยาวกว่ากันตัวนั้นจะเป็นสายหลัก ในกรณีจะเป็นจะเรียกว่าเอนเมทิลเอชทิลลามีน คือ สายหลักของมันมีคาร์บอนสองตัวเรียกว่าเอชทิลลามีน แต่เอชทิลลามีนมีคาร์บอนอีกตัวมาเกาะ ตัวนี้จึงเรียกว่า เมนเมนทิลเอชทานามีน โดยต้องบอกด้วยเมทิลที่มาเกาะมาเกาะที่ตำแหน่งใด กรณีนี้มาเกาะที่ตัวเอ็นจึงเรียกว่าเอ็นเมนทิลเมททิวลามีน หรือ เรียกว่า เอ็นเมนทิลเอชเอชทานามีน • การนำเสนอมีดังนี้ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่พร้อมข้อความลำดับที่และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพวงกลมสีแดงล้อมรอบกระพริบพร้อมแสดงชื่อที่ตัวเอ็นกระพริบพร้อมข้อความลำดับที่ • เมื่อคลิก Next ปรากฏสไลด์ถัดไป