250 likes | 343 Views
แผนปฏิบัติการนำร่องโครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์ เพื่อผลิตและพัฒนาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา พ . ศ. 2549 - 2552. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.). เป้าหมายโครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์ฯ. ผลิตอาจารย์ปริญญาเอก ๐ ต่างประเทศ ๐ ร่วมในและต่างประเทศ ๐ ในประเทศ (SFR) (SW) (THA)
E N D
แผนปฏิบัติการนำร่องโครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อผลิตและพัฒนาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาพ.ศ. 2549 - 2552 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
เป้าหมายโครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์ฯเป้าหมายโครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์ฯ • ผลิตอาจารย์ปริญญาเอก ๐ ต่างประเทศ ๐ ร่วมในและต่างประเทศ ๐ ในประเทศ (SFR) (SW) (THA) • พัฒนานักวิจัยอาชีพ ๐ นักวิจัยรุ่นใหม่ ๐ นักวิจัยรุ่นกลาง ๐ หลังป.เอก ๐ พัฒนากลุ่มวิจัย (TRF-YR) (TRF-MR) (PD) (RG) • เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ ๐ ผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ ๐ แลกเปลี่ยนอ./นศ. ๐ ประชุมวิชาการ
หลักการและแนวทางการดำเนินการหลักการและแนวทางการดำเนินการ • มีทิศทางที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว • ให้ความสำคัญกับการสร้างความเข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษา (ไทย) • เสริมบทบาทของสถาบันผู้รับบริการ • สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบัน • การศึกษาต่อต่างประเทศสาขาขาดแคลน • แสวงหาความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน
วัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติการนำร่อง ครอบคลุม 4 ปี (2549 – 2552) • จัดระบบคัดสรรสถาบันหน่วยผลิตและพัฒนาอาจารย์ที่มีประสิทธิภาพ • สนับสนุนการวางแผนพัฒนาอาจารย์ของสถาบันอุดมศึกษา • วางระบบการบริหารโครงการให้มีความคล่องตัว ชัดเจน
ขอบเขตการดำเนินงาน • กำหนดลำดับความสำคัญของกลุ่มสาขาวิชาเชิงบูรณาการ • การวางแผนพัฒนาอาจารย์ในระดับสถาบันอุดมศึกษา • การคัดเลือกองค์กรฝ่ายผลิต (ด้านอุปทาน) • การตอบสนองความต้องการองค์กรฝ่ายรับ (ด้านอุปสงค์)
กำหนดลำดับความสำคัญของกลุ่มสาขาวิชาProblem Based • กลุ่มกระบวนทัศน์ใหม่ • กลุ่มฐานเศรษฐกิจของประเทศ • กลุ่มการจัดการความรู้ และทรัพยากรเพื่อความมั่นคงของชาติ • กลุ่มวัฒนธรรมและสังคม • กลุ่มวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
การวางแผนพัฒนาอาจารย์ในระดับสถาบันอุดมศึกษาการวางแผนพัฒนาอาจารย์ในระดับสถาบันอุดมศึกษา • สถาบันอุดมศึกษาต้องพร้อมที่จะเป็นทั้งสถาบันฝ่ายรับและฝ่ายผลิต • รับรู้ความเคลื่อนไหวในการขออัตรากำลังใหม่ให้แก่สถาบันอุดมศึกษา 21,042 อัตราต่อคณะรัฐมนตรี • จัดทำแผนพัฒนาอาจารย์ 10 – 15 ปี • แสวงหาความร่วมมือ ระหว่างสถาบันฝ่ายรับและฝ่ายผลิต
การคัดเลือกองค์กรฝ่ายผลิต (ด้านอุปทาน) • หลักสูตรปริญญาเอก ๐ จะได้รับการจัดสรรทุนในการผลิตนักศึกษาในหลักสูตรนั้นๆ • กลุ่มวิจัย ๐ ได้รับเงินอุดหนุนเพื่อผลิตผลงานวิชาการ ผลิตนักศึกษา สร้าง นักวิจัยที่มีคุณภาพ • อาจารย์ที่ปรึกษา ๐ ขอทุนผลิตนักศึกษาปริญญาเอก
การตอบสนองความต้องการองค์กรฝ่ายรับ (ด้านอุปสงค์) • สถาบันอุดมศึกษา ๐ แสวงหาความร่วมมือกับสถาบันฝ่ายผลิต ๐ คัดเลือกอาจารย์ประจำ/นักศึกษาเรียนตามเงื่อนไข • อาจารย์ประจำ ๐ เตรียมความพร้อมของตนเองในการศึกษาต่อ ๐ หารือสถาบันต้นสังกัด • นักศึกษา (บุคคลทั่วไป) ๐ สมัครขอรับทุน ๐ คัดเลือกสถาบันอุดมศึกษาเพื่อบรรจุเป็นอาจารย์
ทุนผลิตอาจารย์ปริญญาเอกทุนผลิตอาจารย์ปริญญาเอก • ทุนศึกษาต่อต่างประเทศ (SFR)5 สาขา จำนวน 45 ทุน (7 ล้านใน 5 ปี) • ทุนร่วมในและต่างประเทศ (SW)จำนวนรวมทั้งสิ้น 200 ทุน (2 ล้านใน 4 ปี) ๐ ทุนกลุ่มวิจัย RG จำนวน 32 ทุน ๐ ทุนอาจารย์ที่ปรึกษา จำนวน 58 ทุน ๐ ทุนนักศึกษา จำนวน 110 ทุน • ทุนในประเทศ (THA) จำนวนรวมทั้งสิ้น 250 ทุน (1.2 ล้านใน 4 ปี) ๐ ทุนหลักสูตร จำนวน 21 หลักสูตร รวม 52 ทุน ๐ ทุนอาจารย์ที่ปรึกษา จำนวน 55 ทุน ๐ ทุนนักศึกษา จำนวน 143 ทุน
วิธีการให้ทุนร่วมในและต่างประเทศ (SW) • ผ่านกลุ่มวิจัยResearch group (RG) =>อาจารย์ที่ปรึกษาอยู่กลุ่มRGและมีผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติที่มี IF โดยเฉลี่ย 5 ปี ไม่น้อยกว่า 1 เรื่องต่อคนต่อปี (หากยังไม่มีคุณสมบัตินี้) จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หรือ mentor => นักศึกษาที่รับทุนจะต้องมีผลการเรียน ป.ตรี และป.โท ที่มี GPA ไม่ต่ำกว่า 3.25 (หากยังไม่มีคุณสมบัตินี้) จะต้องมีผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติที่มี IF
วิธีการให้ทุนร่วมในและต่างประเทศ (SW) • สำหรับนักศึกษาที่สมัครรับทุนเอง => จะต้องหาอาจารย์ที่ปรึกษา ที่มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติที่มี IF โดยเฉลี่ย 5 ปี ไม่น้อยกว่า 1 เรื่องต่อคนต่อปี (หากยังไม่มีคุณสมบัตินี้) จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หรือ mentor
วิธีการให้ทุนในประเทศ (TH) • ผ่านหลักสูตร => ประธานหลักสูตรเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาที่มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติที่มี IF โดยเฉลี่ย 5 ปี ไม่น้อยกว่า 1 เรื่องต่อคนต่อปี (หากยังไม่มีคุณสมบัตินี้) จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หรือ mentor => นักศึกษาที่รับทุนจะต้องมีผลการเรียน ป.ตรี และป.โท ที่มี GPA ไม่ต่ำกว่า 3.25 (หากยังไม่มีคุณสมบัตินี้) จะต้องมีผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติที่มี IF
วิธีการให้ทุนในประเทศ (TH) • ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษา => นักศึกษาที่รับทุนจะต้องมีผลการเรียน ป.ตรี และป.โท ที่มี GPA ไม่ต่ำกว่า 3.25 (หากยังไม่มีคุณสมบัตินี้) จะต้องมีผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติที่มี IF
วิธีการให้ทุนทั้ง SW และ THA • อาจารย์ที่ปรึกษาที่ได้รับทุน จะต้องมีนักศึกษาตามคุณสมบัติเพื่อรับทุนก่อน เดือนตุลาคม 2550 • นักศึกษาที่ได้รับทุน จะต้องมีหลักสูตรและอาจารย์ที่ปรึกษาตามคุณสมบัติเพื่อรับทุนก่อน เดือนตุลาคม 2550 • นักศึกษาที่มีสังกัดต้องได้รับการอนุมัติให้ลาเรียน • นักศึกษาที่ยังไม่มีสังกัดต้องหาสังกัดให้ได้ก่อนจบ
หลักปฏิบัติของผู้รับทุนหลักปฏิบัติของผู้รับทุน • ทุนร่วมในและต่างประเทศ(SW) > นักศึกษาผู้รับทุนจะต้องมีคะแนนผลสอบTOFELหรือเทียบเท่าไม่ต่ำกว่า 500 คะแนน >นักศึกษาผู้รับทุนจะต้องทำแผนการศึกษาหัวข้อวิทยานิพนธ์ เสนอสกอ.ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนไปทำวิจัยในต่างประเทศ > นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาจะต้องส่งผลรายงานความก้าวหน้าต่อมหาวิทยาลัยและสกอ.ทุกภาคการศึกษา
หลักปฏิบัติของผู้รับทุนหลักปฏิบัติของผู้รับทุน • ทุนร่วมในประเทศ(TH) > นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาจะต้องส่งผลรายงานความก้าวหน้าต่อมหาวิทยาลัยและสกอ.ทุกภาคการศึกษา
หลักปฏิบัติของผู้รับทุนหลักปฏิบัติของผู้รับทุน • การประเมินและติดตามผลรายงานความก้าวหน้าทุกภาคการศึกษา นักศึกษาผู้รับทุนกรอกข้อมูลรายงานผล ทาง on line พิมพ์ข้อมูลแล้วส่งอาจารย์ที่ปรึกษา สกอ. อาจารย์ที่ปรึกษาให้ความเห็นชอบ มหาวิทยาลัยตรวจความก้าวหน้าแล้ว ตรวจสอบการเงิน
ผลสัมฤทธิ์ • ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ อย่างน้อย 1เรื่อง โดยนักศึกษาเป็นชื่อแรก อาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) พร้อมทั้งกิตติกรรมประกาศ ขอบคุณ สกอ. ผู้ให้ทุน หรือ • ผลงานที่จดสิทธิบัตรของผลงานวิจัยนั้นๆ
ระยะเวลารับทุน • 4 ปี นับตั้งแต่ เดือน/ปีที่รับสัญญา • หากสำเร็จการศึกษาก่อน ก็ให้สิ้นสุดการรับทุน • หากไม่สำเร็จในระยะเวลา 4 ปี นักศึกษาจะต้องศึกษาต่อด้วยทุนตัวเอง จนกว่าจะสำเร็จการศึกษา • นักศึกษาที่รับทุนทุกคน เมื่อสำเร็จการศึกษา จะต้องแจ้งผลการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ และผลงานตีพิมพ์ หรือ ผลงานจดสิทธิบัตร มายัง สกอ. ก่อนการอนุมัติจบจากมหาวิทยาลัย
จำนวนทุน • อาจารย์ที่ปรึกษาแต่ละท่าน แต่ละหลักสูตร แต่ละกลุ่มวิจัย สามารถรับทุนได้ไม่เกิน 3 ทุน • หลักสูตร และกลุ่มวิจัย รับได้ไม่เกิน 5 ทุน จะขอทุนได้ก็เมื่อมีนักศึกษาจบ และได้เท่ากับจำนวนที่จบ • กลุ่มวิจัยรับได้ไม่เกินกลุ่มละ 5 ทุน และปีละไม่เกิน 3 ทุน
การรับเงินทุน • เงินทุนที่ได้ของนักศึกษาผู้รับทุน จะถูกส่งไปยัง มหาวิทยาลัยผู้ผลิต • มหาวิทยาลัยผู้ผลิต จะต้องทำรายงานการเงินของทุกทุนส่ง สกอ. ทุกภาคการศึกษา เมื่อนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาได้ส่งรายงานความก้าวหน้าต่อมหาวิทยาลัย
ทุนพัฒนานักวิจัยอาชีพทุนพัฒนานักวิจัยอาชีพ • ทุนนักวิจัยรุ่นใหม่ ร่วมกับ สกว. • ทุนนักวิจัยรุ่นกลาง ร่วมกับ สกว. • ทุนหลังปริญญาเอก(PD) ๐ ให้เงินเดือนเพื่อทำวิจัยเต็มเวลา เดือนละ 35,000 บาท ๐ จำนวนทุน 24 ทุน • ทุนพัฒนากลุ่มวิจัย(RG) ๐ ทุนละ 2.5 ล้านต่อปี ๐ จำนวนทุน 24 ทุน ตามเครือข่าย 20 สาขา
เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ • โครงการเชิญผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ ๐ โครงการละไม่เกิน 280,000 บาท ๐ จำนวนทุน 38 ทุน • โครงการแลกเปลี่ยนอาจารย์/นักศึกษา ๐ ไปทำวิจัยในระยะสั้นไม่ต่ำกว่า 1 เดือน และไม่เกิน 3 เดือน ๐ จำนวนทุน อาจารย์ 10 ทุน และ นักศึกษา 10 ทุน • โครงการจัดประชุมวิชาการ ๐ จัดการประชุมระดับสาขาวิชา จำนวน 6 ทุน ๐ การจัดประชุมระดับชาติ จำนวน 14 ทุน ๐ การจัดประชุมระดับนานาชาติ จำนวน 21 ทุน
การรับเงินทุนทุกประเภทการรับเงินทุนทุกประเภท • เงินทุนทุกประเภท (ยกเว้น ทุนพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่ และรุ่นกลาง ซึ่งผ่าน สกว.) จะส่งไปยังสถาบันผู้ผลิต โดยเป็นงวดรายปี • มหาวิทยาลัยจะต้องแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ หรือ ผู้ประสานงานกับสกอ. ในการติดตามการใช้จ่าย และประเมินติดตามผลงานทุกภาคการศึกษา