330 likes | 562 Views
สำนักงานเมืองอัจฉริยะประเทศไทย (สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล) 80 ถนนลาดพร้าวซอย 4 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 www.smartcitythailand.or.th. สำนักงานเมืองอัจฉริยะประเทศไทย Smart City Thailand ภายใต้ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล. นำเสนอโดย ดร.ภาสกร ประถมบุตร
E N D
สำนักงานเมืองอัจฉริยะประเทศไทย(สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล)สำนักงานเมืองอัจฉริยะประเทศไทย(สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล) 80 ถนนลาดพร้าวซอย 4 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 www.smartcitythailand.or.th สำนักงานเมืองอัจฉริยะประเทศไทย Smart City Thailand ภายใต้ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล นำเสนอโดย ดร.ภาสกร ประถมบุตร รองผู้อำนวยการกลุ่มโครงการพิเศษ ณ ห้องเอเวอร์กรีน และห้องดุสิตา ชั้น 5 โรงแรมเอเชียแอร์พอต จังหวัดปทุมธานี วันที่ 28– 29 พฤษภาคม 2562
แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทยแผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทย “รัฐบาลปัจจุบันได้ให้ความสำคัญกับการกระจาย ความเจริญอย่างเท่าเทียมกันในทุกภูมิภาค ของประเทศไทย ทั้งกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 โมเดล การขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 และแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดยการพัฒนาเมืองนี้ ถือเป็นวาระแห่งชาติที่ต้องดำเนินการเร่งด่วน เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเจริญสู่ทุกภูมิภาคของประเทศ ในบริบทของพื้นที่จะต้องพัฒนาเมืองให้มีความน่าอยู่ มีประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ มีการบูรณาการสาธารณูปโภค รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญได้แก่ ด้านคมนาคม ด้านพลังงาน และด้านดิจิทัล อันจะนำไปสู่การเปลี่ยนผ่านเป็นเมืองอัจฉริยะ ประชาชนอยู่ดี มีสุข อย่างยั่งยืน” “ขณะนี้ 7 จังหวัด 10 พื้นที่นั้นเดินหน้าแล้ว โดยต่อจากนี้เราจะมีเมืองที่มีความต้องการเข้ามาเสริม เช่น เมืองชายแดน เมืองชายฝั่ง และจะกระจายไปทุกพื้นที่ ซึ่งเรามีความประสงค์ที่จะให้ประเทศไทยทั้ง 77 จังหวัดนั้นเดินหน้าไปสู่ Smart City แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกคนจะต้องมีรูปแบบเดียวกัน ทุกพื้นที่จะสามารถเลือกแบบของตนเองได้ จะเป็นเมืองที่ทันสมัย เมืองที่มีความน่าอยู่ หรือเมืองที่มีอัตลักษณ์ของตัวเองในเรื่องประเพณี วัฒนธรรม ภายใต้พื้นฐานที่มีโครงสร้างพื้นฐานสะดวกสบายทั้งเรื่องของการคมนาคมขนส่ง น้ำ ไฟ และเทคโนโลยีดิจิทัล” พลเอก ประยุทธ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี คำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 267/ 2560 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ลงวันที่ 15 ตุลาคม 2560 พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ปาฐกถาพิเศษ ในงาน Smart City Thailand Takeoff ลงวันที่ 11 มีนาคม 2562 2
แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทยแผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทย การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ป 3
แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทยแผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทย รองนายกรัฐมนตรี เลขานุการร่วม ผอ.สำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล รมต. กระทรวง คมนาคม รมต. กระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม รมต. กระทรวง พลังงาน ผอ.สำนักงานนโยบาย และแผนการขนส่งและจราจร ปลัดกระทรวง การคลัง ปลัดกระทรวง คมนาคม ปลัดกระทรวง พลังงาน ปลัดกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปลัดกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ผอ.สำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ คณะอนุกรรมการบูรณาการและบริหารโครงการเมืองอัจฉริยะ คณะทำงาน 7 Smarts ผู้ทรงคุณวุฒิ ปลัดกระทรวง สาธารณสุข ปลัดกระทรวง มหาดไทย ปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา ปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านเศรษฐกิจ ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านโทรคมนาคม เลขาธิการคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ผอ. สำนัก งบประมาณ เลขาธิการสำนักงาน คณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งขาติ เลขาธิการ คณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านสังคม • อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง ปลัดกระทรวง การต่างประเทศ • เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก • เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 4
แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทยแผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทย อำนาจหน้าที่ คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ 5
แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทยแผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทย รมช. กระทรวงคมนาคม อนุกรรมการ เลขานุการ ผอ.สำนักงานนโยบาย และแผนการขนส่งและจราจร ปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลัดกระทรวง พลังงาน ปลัดกระทรวง มหาดไทย ปลัดกระทรวง คมนาคม ปลัดกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ที่ปรึกษา รองนายก ผู้ช่วยเลขานุการ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการคณกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • เลขาธิการคณะกรรมการ • นโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ คณะอนุกรรมการบูรณาการและบริหารโครงการเมืองอัจฉริยะ คณะทำงาน 7 Smarts ผอ.สำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน เลขาธิการคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน อธิบดีกรมการขนส่งทางบก อธิบดีกรมทางหลวงชนบท อธิบดีกรมทางหลวง ผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย ผอ.สำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ผู้ว่าการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ผู้ว่าการประปานครหลวง ผู้ว่าการไฟฟ้านครหลวง ผู้ว่าการประปาส่วนภูมิภาค ผู้ว่าการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ผู้ว่าการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ประธานสถาบันอาคารเขียวไทย 6
แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทยแผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทย ปลัดกระทรวง คมนาคม หรือผู้แทน ปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือผู้แทน ปลัดกระทรวง การคลัง หรือผู้แทน ปลัดกระทรวง พลังงาน หรือผู้แทน ปลัดกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม หรือผู้แทน ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือผู้แทน ปลัดกระทรวง มหาดไทยหรือผู้แทน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน ผู้แทน กระทรวงสาธารณสุข ผู้แทน สำนักงานคณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน ผู้แทน กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา ผู้แทน กระทรวงพาณิชย์ ผู้แทน กระทรวงศึกษาธิการ • ผู้แทนกรมโยธาธิการและผังเมือง ผู้แทน กระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ผู้แทน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้แทน สำนักงานนโยบาย และแผนการขนส่งและจราจร ผู้แทน สำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน ผู้แทน สำนักงานนโยบาย และแผนการขนส่งและจราจร ผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้แทน กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ผู้แทน กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ผู้แทน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ผู้แทน สำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ผู้แทน สำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ผู้แทน กรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ผู้แทน สำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน ผู้แทน สำนกงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ผู้แทน สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ผู้แทน สำนักงานนโยบาย และแผนการขนส่งและจราจร คณะทำงาน 7 Smarts ผู้แทน บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ผู้แทน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้แทน สำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ผู้แทนสำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ผู้แทน สำนักงานส่งเสริมการลงทุน ผู้แทน สำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน ผู้แทนบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ผู้แทน การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผู้แทน สำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ผู้แทนบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ผู้แทน สำนักงานส่งเสริมการลงทุน ผู้แทน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ผู้แทน บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ผู้แทนบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ผู้แทนสำนักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้แทน บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ผู้แทนสำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ผู้แทน การไฟฟ้านครหลวง ผู้แทนบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ผู้แทน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านคมนาคมขนส่ง ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิ่งแวดล้อม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐศาสตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพลังงาน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านประชากรศาสตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านธรรมาภิบาล ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพัฒนาชุมชน เลขานุการ เลขานุการ เลขานุการ เลขานุการ เลขานุการ เลขานุการ เลขานุการ ผอ. สำนักงาน นโยบายและแผนการขนส่งและจราจร หรือผู้แทน เลขาธิการ สำนักงานนโยบายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือผู้แทน ผอ. สำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง หรือผู้แทน ผอ.สำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือผู้แทน ผอ.สำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน หรือผู้แทน ผอ. สำนักงาน พัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือผู้แทน อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง หรือผู้แทน 7
เมืองอัจฉริยะหมายถึง “เมืองที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยและชาญฉลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการและการบริหารจัดการเมือง ลดค่าใช้จ่ายและการใช้ทรัพยากร โดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจและภาคประชาชนในการพัฒนาเมือง ภายใต้แนวคิดการพัฒนา เมืองน่าอยู่ ทันสมัยให้ประชาชนในเมืองอยู่ดี มีสุข อย่างยั่งยืน”
แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทยแผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทย 2562-2563 2563-2564 2561-2562 2563-2564 เป้าหมายการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ 100 เมืองอัจฉริยะ 76 จังหวัด + กทม. 10 เมืองอัจฉริยะ 7 จังหวัด 30+ เมืองอัจฉริยะ พื้นที่ 24+ จังหวัด 60 เมืองอัจฉริยะ 30 จังหวัด เมืองเป้าหมาย เมืองเดิม • 8 เชียงราย • 9 พิษณุโลก • 10 น่าน • 11 อุบลราชธานี • 12 อุดรธานี • 13 หนองคาย • 14 นครพนม • 15 มุกดาหาร • 16 กระบี่ • 17 พังงา • 18 สงขลา • 19 ยะลา • 20 ปัตตานี • 21 นราธิวาส • 22 สตูล • 23 นครศรีธรรมราช • 24 ระนอง • 25 จังหวัดอื่นๆ ที่มีความพร้อม • 1 ภูเก็ต • 2 ขอนแก่น • 3 เชียงใหม่ • 4 ชลบุรี • 5 ระยอง • 6 ฉะเชิงเทรา • 7 กรุงเทพมหานคร • ให้บริการ City Data Platform ครอบคลุมทุกพื้นที่ในประเทศ • บริการเมืองอัจฉริยะของภาครัฐ และภาคเอกชนไม่น้อยกว่า 100 บริการ • เมืองอัจฉริยะได้รับการยอมรับระดับโลก 3 เมือง 9
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ 10
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ • Define Vision of the area • Infrastructure • Data platform/Cyber security • Solutions • Sustainability Model and Competitive Advantage สมัครและส่งข้อเสนอ ผ่านเว็บไซต์ smartcitythailand.or.th ตัดสินตาม 7 เกณฑ์ และประกาศรับรองโดยคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ผ่าน จะได้รับตราสัญลักษณ์ สามารถขอรับสิทธิประโยชน์ การส่งเสริม เช่น สิทธิประโยชน์ทางภาษีจาก BOI 11
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ www.smartcitythailand.or.th เริ่มรับสมัครตั้งแต่ 12
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ ❶ หน่วยงาน ที่ลงทะเบียน ต้องมีคุณสมบัติ ตามประกาศคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ที่ 1/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์การประเมิน และคุณสมบัติ วิธีการ และกระบวนการในการพิจารณาการเป็นเมืองอัจฉริยะ ตามหมวด 2 ข้อ 11(1) เป็นส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การมหาชน หน่วยงานอื่นๆ ของรัฐที่เป็นผู้รับผิดชอบหลัก ในการพัฒนาและขับ เคลื่อนเมืองอัจฉริยะที่มีเขตเมืองอัจฉริยะสอดคล้องกับนิยามที่คณะกรรมการกำหนด หรือเป็นหน่วยงานที่มีคุณสมบัติตาม (1) ที่มีความร่วมมือกับหน่วยงานเอกชนที่จดทะเบียน ในประเทศไทยในการพัฒนาและขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะในรูปแบบการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน หรือเป็นหน่วยงานเอกชนที่จดทะเบียนในประเทศไทยและมีเอกสารสิทธิ์ ในพื้นที่ที่สอดคล้องกับนิยามที่คณะกรรมการกำหนด และประสงค์จะขอรับการพิจารณาความเป็นเมืองอัจฉริยะ โดยโครงการเมืองอัจฉริยะของหน่วยงานเอกชนดังกล่าวจะต้องได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานทางปกครอง ในระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค หรือระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หรือ โครงการได้ผ่านการประชาพิจารณ์และการยอมรับจากผู้อยู่อาศัยในพื้นที่แล้ว https://www.smartcitythailand.or.th 13
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ ❷ • หน่วยงาน ต้องยื่นข้อเสนอโครงการ • ตามประกาศคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ที่ 1/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์การประเมิน และคุณสมบัติ วิธีการ และกระบวนการ ในการพิจารณาการเป็นเมืองอัจฉริยะ ตามหมวด 1 ข้อ 3 • - การกำหนดพื้นที่และเป้าหมาย • - แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • - แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลและความปลอดภัย • บริการพื้นที่ และระบบเมืองอัจฉริยะ 7 ด้าน (มีอย่างน้อย 2 ด้าน • โดย บังคับด้านสิ่งแวดล้อม • แนวทางการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน • หมายเหตุ • หน่วยงานต้อง จัดส่งหนังสือนำส่งข้อเสนอโครงการ • และข้อเสนอโครงการ เป็นไฟล์ในรูปแบบ .docx และ .pdf • บรรจุลงเฟลชไดร์ฟ จำนวน 1 ชุด ตามที่อยู่ที่กำหนด้วย xxx_scp@xxx.com xxx xxx xx 25xx xx xxxxxxxxxxxx MExxxxxxxxxx https://www.smartcitythailand.or.th 14
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ กลุ่มเมืองเดิม (Livable City) กลุ่มเมืองใหม่ (New City) เมืองเดิมที่มีประชากรอยู่อาศัยที่ได้รับการพัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่ มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาใช้ตามบริบทความต้องการของเมือง โดยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเมือง สาธารณูปโภค ที่อยู่อาศัย พื้นที่พักผ่อน แหล่งงาน พาณิชยกรรม รวมถึงการจัดพื้นที่ของเมืองอย่างเหมาะสมกับวัฒนธรรม ประเพณี อัตลักษณ์ ของเมือง เมืองที่ได้รับการพัฒนาพื้นที่ขึ้นใหม่ให้เป็นเมืองทันสมัย มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาใช้ตามบริบทความต้องการของเมือง โดยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสาธารณูปโภค ที่อยู่อาศัย พื้นที่พักผ่อน แหล่งงาน พาณิชยกรรม รวมถึงการจัดพื้นที่ของเมืองอย่างเหมาะสม 15
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ ❸ ❹ ❶ ❷ แนวทางการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน การกำหนดพื้นที่ และเป้าหมาย แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลและความปลอดภัย บริการพื้นที่ และระบบเมืองอัจฉริยะ 7 ด้าน แผนการบริหารโครงการและกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน การกำหนดเขตเมืองอัจฉริยะ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ประเภท และลักษณะของเมืองอัจฉริยะ แผนดำเนินการโครงสร้างพื้นฐานของเมืองอัจฉริยะ ทั้งด้านดิจิทัล และโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ เช่นคมนาคม พลังงาน สาธารณูปโภค หรืออื่นๆ ที่สอดคล้องกับเป้าหมาย ระบบจัดเก็บและบริหารข้อมูล และแนวทางการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ที่เกี่ยวข้องกับระบบต่างๆ ของเมืองและบุคคล บริการระบบเมืองอัจฉริยะ กิจกรรม หรือโครงการที่เสนอตามประเภทของเมืองอัจฉริยะที่ขอรับการพิจารณา ที่ครอบคลุมถึง บริการภาคบังคับในกรณีที่กำหนด และบริการอื่นๆ ตามความเหมาะสม 16
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ ตัวอย่าง ❸ ❹ ❶ ❷ แนวทางการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน การกำหนดพื้นที่ และเป้าหมาย แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลและความปลอดภัย บริการพื้นที่ และระบบเมืองอัจฉริยะ 7 ด้าน บริษัทพัฒนาเมือง กองทุน PMO ในเทศบาล เมืองในเขตเทศบาลขอนแก่น เมืองแห่งโอกาสในการสร้างนวัตกรรม Smart Environment Smart People Smart Economy Smart Mobility Smart Living แผนการสร้าง City Lab ระบบเชื่อมต่อเพื่อการเดินทาง Data Center โครงข่าย 5G อาคารที่รองรับกิจกรรม ติดตั้ง sensor รวมรวมข้อมูล และ City Data Platform เปิด API ให้ผู้ประกอบการนำไปสร้างนวัตกรรม บริการ co-working space Maker space TK park/ Innovation center MICE services 17
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ ระบบเมืองอัจฉริยะ 7 ด้าน การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้คงไว้ในฐานทรัพยากรอันมีค่า (Resource Conservation) ดัชนีชี้วัดการใช้พลังงาน (Specific Energy Consumption) การดำรงไว้ซึ่งดุลยภาพของธรรมชาติและมีความเหมาะสมกับการอยู่อาศัย การดำรงชีวิตการประกอบสัมมนาชีพของคนในชุมชน การผลิตพลังงาน (Energy Generation) การส่งจ่ายพลังงาน (Energy distribution) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการติดตามสภาวะแวดล้อม (Environment Management and Monitoring) การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก (GreenHouse Gas reduction) ระบบเครือข่ายอัจฉริยะ (Smart Grid system) ประชาขนมีสุขภาพดี ส่งเสริมสุขอนามัยของประชาชน (Healthy People) (Promoting People’s hygiene) เมืองปลอดภัยจากอาชญากรรมอุบัติภัย และสาธารณภัย (Public Safety) การเข้าถึงโครงข่ายคมนาคม /ระบบขนส่งสาธารณะ (Accessibility) ความสะดวกสบายการใช้สาธารณูปโภค และสิ่งอำนวยความสะดวกด้านคมนาคมขนส่ง รวมทั้งการใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะ (Convenience) สิ่งอำนวยความสะดวกรอบตัว คนทุกวัยสามารถเข้าถึงบริการสาธารณะและมีโอกาสในการมีส่วนร่วม (Full of Intelligent Living Facilities) SMART CITY ความโปรดภัยด้านคมนาคมขนส่ง (Safety) พลเมืองมีความรู้และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี (Knowledgeable and digital citizen) • เมืองเดิม • เมืองใหม่ การส่งเสริมการใช้ยานพาหนะเพื่อลดมลพิษ (Green Mobility) สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และการเรียนรู้ที่ไม่สิ้นสุด (Creative and life-long learning environment) ประสิทธิภาพและความคล่องตัวในการดำเนิน ธุรกิจ (Business agility) การอยู่ร่วมกันด้วยความหลากหลายทางสังคม (Inclusive society) เกิดความเชื่อมโยงและความร่วมมือทางธุรกิจ (Business connectivity) ประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการพัฒนาปรับเปลี่ยนธุรกิจ (Business innovation and transformation) เข้าถึงบริการภาครัฐ (Government services accessibility ) พลเมืองมีส่วนร่วม (Citizen participation) โปร่งใส ตรวจสอบได้ (Transparency) 18
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ ตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะประเทศไทย ตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะประเทศไทย สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) ร่วมกับสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) และสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ได้จัดกิจกรรมประกวดการออกแบบตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ เพื่อนำตราสัญลักษณ์ชนะการประกวดมาใช้เป็นสัญลักษณ์แทนการเป็นเมืองอัจฉริยะ ทั้งเมืองเดิม และเมืองใหม่ และการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ใน 7 ด้าน อีกทั้งเป็นการประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ และการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการดำเนินงานด้าน “เมืองอัจฉริยะ” รวมถึงการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ โดยมีผลงานส่งประกวด รวม 61 ผลงาน และผู้ได้รับรางวัลชนะเลิศ ได้รับรางวัล จากคณะกรรมการฯ ในวันที่ 11 มีนาคม 2562 19
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ใน 7 ด้าน สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) เมืองที่คำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เช่น การจัดการน้ำ การดูแลสภาพอากาศ การบริหารจัดการของเสีย และการเฝ้าระวังภัยพิบัติ ตลอดจนเพิ่ม การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 20
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ใน 7 ด้าน เศรษฐกิจอัจฉริยะ (SmartEconomy) เมืองที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในระบบเศรษฐกิจและบริหารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เมืองเกษตรอัจฉริยะ เมืองท่องเที่ยวอัจฉริยะ เป็นต้น การเดินทางและขนส่งอัจฉริยะ (Smart Mobility) เมืองที่มุ่งเน้นพัฒนาระบบจราจรและขนส่งอัจฉริยะเพื่อขับเคลื่อนประเทศ โดยเพิ่มประสิทธิภาพและความเชื่อมโยงของระบบขนส่งและการสัญจรที่หลากหลาย เพิ่มความสะดวกและ ความปลอดภัยในการเดินทางและขนส่ง รวมถึงเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม 21
วิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะวิธีสมัครรับตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะ การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ใน 7 ด้าน พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) เมืองที่สามารถบริหารจัดการด้านพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความสมดุลระหว่างการผลิตและการใช้พลังงานในพื้นที่เพื่อสร้างความมั่นคงทางพลังงานและลดการพึ่งพาพลังงานจากระบบโครงข่ายไฟฟ้าหลัก พลเมืองอัจฉริยะ (Smart People) เมืองที่มุ่งพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะ และสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมและเศรษฐกิจตลอดจนเปิดกว้างสำหรับความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการมีส่วนร่วมของประชาชน 22
แผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทยแผนการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะประเทศไทย การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ใน 7 ด้าน การดำรงชีวิตอัจฉริยะ (Smart Living) เมืองที่มีการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก โดยคำนึงถึงหลักอารยสถาปัตย์(Universal Design) ให้ประชาชนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี มีความปลอดภัย และมีความสุขในการดำรงชีวิต การบริหารภาครัฐอัจฉริยะ (Smart Governance) เมืองที่พัฒนาระบบบริการภาครัฐ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของภาครัฐ โดยมุ่งเน้น ความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม และมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องผ่านการประยุกต์ใช้นวัตกรรมบริการ 23