160 likes | 355 Views
มาตรฐานงานสุขศึกษา. สุดาพร ดำรงค์วานิช กลุ่มสนับสนุนการดำเนินงานสุขศึกษา พฤษภาคม 52. มาตรฐานงานสุขศึกษา. หมวดที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร. หมวดที่ 2 กระบวนการดำเนินงาน. หมวดที่ 3 กระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการ. หมวดที่ 4 ผลลัพธ์การดำเนินการ. มาตรฐานงานสุขศึกษา ปี 2552.
E N D
มาตรฐานงานสุขศึกษา สุดาพร ดำรงค์วานิช กลุ่มสนับสนุนการดำเนินงานสุขศึกษา พฤษภาคม 52
มาตรฐานงานสุขศึกษา หมวดที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร หมวดที่ 2 กระบวนการดำเนินงาน หมวดที่ 3 กระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการ หมวดที่ 4 ผลลัพธ์การดำเนินการ
มาตรฐานงานสุขศึกษา ปี 2552 4 หมวด 10 องค์ประกอบ 16 ตัวชี้วัด 50 เกณฑ์ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป 49 เกณฑ์ โรงพยาบาลชุมชน 39 เกณฑ์ สถานีอนามัย/ศูนย์สุขภาพชุมชน
หมวดที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร องค์ประกอบที่ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้าน สุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรม
หมวดที่ 2 กระบวนการดำเนินงาน องค์ประกอบที่ 4 แผนการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 5 กิจกรรมสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 6 การติดตามสนับสนุนการดำเนินงาน สุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 7 การประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
หมวดที่ 3 กระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการ องค์ประกอบที่ 8 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 9 การวิจัยเกี่ยวกับสุขศึกษาและ พฤติกรรมสุขภาพ
หมวดที่ 4 ผลลัพธ์การดำเนินงาน องค์ประกอบที่ 10 ผลลัพธ์การดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ผลลัพธ์ด้านผู้รับบริการ ผลลัพธ์ด้านชุมชน ผลลัพธ์ด้านพัฒนาคุณภาพบริการ
ความเชื่อมโยงของ 10 องค์ประกอบ 1. นโยบาย 3. ระ บบข้อมูล 8. เฝ้าระวัง 2. ทรัพยากร 9. วิจัย 4. วางแผน 5. ดำเนินงาน 6. การติดตามสนับสนุน 7. ประเมินผล 10. ผลลัพธ์
รพศ. /รพท. รพช. 1.1 ลักษณะของนโยบาย -มีนโยบายฯของรพ.และกลุ่มงานเป็น ลายลักษณ์อักษร -สอดคล้องกับนโยบายกระทรวง สธ.จังหวัด รพ. ปัญหา สธ. -เกิดจากการมีส่วนร่วมของภาครัฐ เอกชน ประชาชน -เป็นที่รับรู้ของผู้เกี่ยวข้องในรพ. ภาครัฐ เอกชน ประชาชน สอ./ศูนย์สุขภาพชุมชน 1.1 ลักษณะของนโยบาย -มีนโยบายฯของสอ./ศสช.เป็นลายลักษณ์อักษร -เกิดจากมีส่วนร่วมของภาครัฐ ตัวแทนประชาชน -เป็นที่รับรู้ของ CUP และภาครัฐในท้องถิ่น องค์ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาฯ
2.1 บุคลากรที่รับผิดชอบงานสุขศึกษา -มีบุคลากรตามกรอบอัตรากำลัง มีการมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร -มีวุฒิด้านสุขศึกษา 1 คน หรือมีประสบการณ์สุขศึกษา 1 ปี -ได้รับการพัฒนาด้านสุขศึกษาปีละ 1 ครั้ง -มีผลงานวิชาการด้านสุขศึกษาปีละ 1 เรื่อง 2.2 งบประมาณหรือทรัพยากรสุขศึกษา - ได้รับจากรพ. ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ตามกิจกรรมในแผน 2.1 บุคลากรที่รับผิดชอบงานสุขศึกษา -มีการมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร -ได้รับการพัฒนาด้านสุขศึกษาปีละ 1 ครั้ง 2.2 งบประมาณหรือทรัพยากรสุขศึกษา - ได้รับจากCUP หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคประชาชน ตามกิจกรรมในแผน องค์ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาฯ
3.1 ฐานข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ -จำแนกประเภทข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ -วิธีการรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมที่เชื่อถือ และตรวจสอบได้ -ปรับข้อมูลเป็นปัจจุบัน ปีละ 1 ครั้ง -เชื่อมโยงกับเครือข่ายทั้งใน/นอกรพ. 3.2 ฐานข้อมูลด้านสื่อสุขศึกษา -จำแนกประเภทข้อมูลสื่อสุขศึกษา -มีข้อมูลความต้องการใช้สื่อสุขศึกษา -นำข้อมูลผลการประเมินสื่อมาปรับปรุงพัฒนา -เผยแพร่ข้อมูลสื่อให้เข้าถึงและนำไปใช้ได้ 3.1 ฐานข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ -จำแนกประเภทข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ -วิธีการรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมที่เชื่อถือ และตรวจสอบได้ -ปรับข้อมูลเป็นปัจจุบัน ปีละ 1 ครั้ง -เชื่อมโยงกับเครือข่ายทั้งใน/นอกสอ./PCU 3.2 ฐานข้อมูลด้านสื่อสุขศึกษา -จำแนกประเภทข้อมูลสื่อสุขศึกษา -เผยแพร่ข้อมูลสื่อให้เข้าถึงและนำไปใช้ได้ องค์ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการดำเนินงานฯ
3. ฐานข้อมูลเครือข่ายสุขศึกษา -จำแนกประเภทข้อมูลเครือข่าย -ปรับข้อมูลเครือข่ายเป็นปัจจุบัน ปีละ 1 ครั้ง -เชื่อมโยงข้อมูลเครือข่ายทั้งใน/นอกรพ. 3. ฐานข้อมูลเครือข่ายสุขศึกษา -จำแนกประเภทข้อมูลเครือข่าย -ปรับข้อมูลเครือข่ายเป็นปัจจุบันปีละ 1 ครั้ง -เชื่อมโยงข้อมูลเครือข่ายทั้งใน/นอกสอ./PCU องค์ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศ(ต่อ)
4.1 มีแผนสุขศึกษาฯบูรณาการในแผนงาน/โครงการสธ. -มีวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพในแผนงาน/โครงการในรพ. - มีวัตถุประสงค์/ ตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพในแผนงาน/โครงการในชุมชน 4.2 ลักษณะแผนการดำเนินงานสุขศึกษา - มีแผนงาน/โครงการสุขศึกษาสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์ของรพ. -ใช้ข้อมูลจาก 3 ฐาน -ครอบคลุมการเรียนรู้ พัฒนาทักษะ ปัจจัยแวดล้อม -มีส่วนร่วมทีมสหวิชาชีพ หน่วยงาน และปชช. -ถ่ายทอดผู้ปฏิบัติงาน 4.1 มีแผนสุขศึกษาฯบูรณาการในแผนงาน/โครงการสธ. -มีวัตถุประสงค์/ ตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพในแผนงาน/โครงการในสอ./PCU และชุมชน 4.2 ลักษณะแผนการดำเนินงานสุขศึกษา - มีกิจกรรมสุขศึกษาสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์ของCUP +ปัญหาสธ.ทั้งในสอ./PCU และชุมชน -ใช้ข้อมูลจาก 3 ฐาน -ครอบคลุมการเรียนรู้ พัฒนาทักษะ ปัจจัยแวดล้อม -มีส่วนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและปชช. องค์ 4 แผนการดำเนินงานสุขศึกษาฯ
5.1 ลักษณะของการจัดกิจกรรม -มีการจัดกิจกรรมในรพ.ทุกงานบริการตามแผนงาน/โครงการ -มีการจัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา สธ. ของชุมชนตามแผนงาน/โครงการ -มีการจัดกิจกรรมที่มุ่งการเรียนรู้ พัฒนาทักษะ พัฒนาปัจจัยแวดล้อม -มีการจัดกิจกรรมในรพ./ชุมชนที่ประกอบด้วยทีมสหวิชาชีพและภาคีเครือข่าย 5.1 ลักษณะของการจัดกิจกรรม - มีการจัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา สธ. ในสอ.และในชุมชนตามแผนงาน/โครงการ - มีการจัดกิจกรรมมุ่งการเรียนรู้ พัฒนาทักษะ พัฒนาปัจจัยแวดล้อม - มีการจัดกิจกรรมในสอ./ชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย องค์ 5 กิจกรรมสุขศึกษาฯ
6.1 กระบวนการติดตามสนับสนุนฯ -ติดตามสนับสนุนครอบคลุมพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายในแผน/โครงการ -ให้เป็นไปตามกระบวนการ/กลวิธี/แนวทางที่กำหนด -นำข้อมูลฯไปใช้ปรับปรุงแก้ไขปัญหา -สรุป+รายงานผล/ปัญหาให้ผู้บริหาร/ คณะกก.บริหาร+หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.1 กระบวนการติดตามสนับสนุน -ติดตามสนับสนุนครอบคลุมพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายในแผน/โครงการ(ผู้ปฏิบัติงานและเครือข่าย) -นำข้อมูลฯไปใช้ปรับปรุงแก้ไขปัญหา -สรุป+รายงานผล/ปัญหาให้ผู้บริหาร/ คณะกก.บริหาร+หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์ 6 การติดตามสนับสนุนงานสุขศึกษาฯ