2.61k likes | 3.02k Views
บทที่ 2. ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติและดุลยภาพในตลาดผลผลิต. โดย อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว สาขาเศรษฐศาสตร์ วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. หัวข้อ. การคำนวณรายได้ประชาชาติ องค์ประกอบของรายได้ประชาชาติ ดุลยภาพในตลาดผลผลิต ความชันและความยืดหยุ่นของเส้น IS
E N D
บทที่ 2 ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติและดุลยภาพในตลาดผลผลิต โดย อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว สาขาเศรษฐศาสตร์ วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หัวข้อ • การคำนวณรายได้ประชาชาติ • องค์ประกอบของรายได้ประชาชาติ • ดุลยภาพในตลาดผลผลิต • ความชันและความยืดหยุ่นของเส้น IS • การเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพในตลาดผลผลิต (เส้น IS) • สรุป • กิจกรรมและคำถามท้ายบท
ความหมายและความสำคัญของรายได้ประชาชาติความหมายและความสำคัญของรายได้ประชาชาติ -ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic Product : GDP) -ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (Gross National Product : GNP) โดย GNP = GDP + F เมื่อ F = net income from abroad (รายได้สุทธิจากต่างประเทศ) -ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (Net National Product : NNP) โดย NNP = GNP - ค่าใช้จ่ายกินทุน เมื่อ ค่าใช้จ่ายกินทุน (Capital Consumption Allowances) ประกอบด้วย ค่าเสื่อมราคา ค่าเครื่องใช้เครื่องมือในการผลิต ที่ชำรุดสึกหรอหรือล้าสมัย และค่าทรัพย์สินสูญหาย
-รายได้ประชาชาติ(National Income : NI) หมายถึง มูลค่ารวมของสินค้าและบริการประชาชาติผลิตขึ้นมาได้ในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยหักค่าใช้จ่ายกินทุนและภาษีทางอ้อมออกแล้ว (Indirect Tax) ออกแล้วโดย NI = NNP - ภาษีทางอ้อม เมื่อภาษีทางอ้อมเป็นภาษีที่ผู้ผลิตสินค้ามีหน้าที่ที่จะต้องเสียให้รัฐบาล เช่น ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร เป็นต้น -รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income :PI) โดย PI = NI - กำไรที่ธุรกิจกันไว้ขยายกิจการ - ภาษีเงินได้นิติบุคคล + เงินโอน -รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ (Disposable Personal Income : DPI) โดย DPI = PI - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ความสัมพันธ์ของรายได้ประชาชาติประเภทต่าง ๆ 1. ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic Product : GDP) = เป็นมูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ที่ผลิตขึ้นภายในประเทศในรอบระยะเวลาหนึ่ง 2. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) = GDP + F 3. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (NNP) = GNP – ค่าใช้จ่ายกินทุน 4. รายได้ประชาชาติ (NI) = NNP – ภาษีทางอ้อม 5. รายได้ส่วนบุคคล (PI) = NI –กำไรที่ธุรกิจกันไว้ขยายกิจการ – ภาษีเงินได้นิติบุคคล + เงินโอน 6. รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ (DPI) = PI - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การคำนวณรายได้ประชาชาติการคำนวณรายได้ประชาชาติ การคำนวณ GDP ด้านรายจ่าย (Expenditure Approach) ด้านรายได้ (Income Approach) ด้านผลผลิต (Production Approach)
1) วิธีการคำนวณรายได้ประชาชาติด้านการผลิต หรือด้านผลผลิต (Production Approach) (1) คำนวณจากผลิตผลขั้นสุดท้ายเป็นผลรวมของมูลค่าของสินค้าและบริการเฉพาะที่เป็นสินค้าขั้นสุดท้าย (Final Product) ที่ผลิตขึ้นในประเทศหรือที่ประเทศได้มาในรอบระยะเวลาหนึ่ง เช่น 1 ปี -(2) คำนวณจากมูลค่าเพิ่ม (Value added) ซึ่งเป็นมูลค่าที่เพิ่มขึ้นจากการผลิตในแต่ละขั้นตอน โดยคิดเพียงมูลค่าที่เพิ่มขึ้นจากการผลิตแต่ละขั้น เพื่อขจัดปัญหาการนับซ้ำ มูลค่าเพิ่ม = มูลค่าของสินค้าและบริการ(ที่ขาย) - (ต้นทุน)สินค้าและบริการที่ใช้ในการผลิตสินค้า
ตารางแสดงตัวอย่างการคำนวณมูลค่าเพิ่มตารางแสดงตัวอย่างการคำนวณมูลค่าเพิ่ม
ภาพแสดงส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติด้านการผลิตภาพแสดงส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติด้านการผลิต ด้านผลผลิต(Production Approach) 1.) เกษตรกรรม 7.) ค้าส่งและค้าปลีก 2.) เหมืองแร่และย่อยหิน 8.) การธนาคาร ประกันภัยและธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 3.) อุตสาหกรรมการ 9.) ที่อยู่อาศัย 4.) ก่อสร้าง 10.) การบริหารและการป้องกันประเทศ 5.) การไฟฟ้าและการประปา11.) การบริการ 6.) การคมนาคมและการขนส่ง
2) วิธีการคำนวณรายได้ประชาชาติด้านรายได้ (Income Approach) เอารายได้ของฝ่ายต่าง ๆ ทั้งของเอกชนและรัฐบาลอันเกิดจากการผลิตสินค้าและบริการทั้งหมดในประเทศเข้ามารวมกันในรอบระยะเวลาหนึ่ง เช่น 1 ปี ก. รายได้ของเอกชนประกอบด้วย ค่าจ้าง + ค่าเช่า + ดอกเบี้ย + กำไร ข. รายได้ของรัฐบาลส่วนมากเป็นรายได้จากเงินค่าภาษีอากร รายได้จากทรัพย์สินและรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ ค. รายได้ที่ไม่นำมารวมเป็นรายได้ประชาชาติ เป็นรายได้ที่ไม่ก่อให้เกิดผลผลิต เช่น เงินโอน รายได้ที่ได้มาโดยบังเอิญ รายได้ที่ผิดกฎหมาย
ด้านรายได้ (Income Approach) ค่าจ้าง (wages) กำไร (profits) ค่าเช่า (rent) ดอกเบี้ย (interest)
3) วิธีการคำนวณรายได้ประชาชาติด้านรายจ่าย (Expenditure Approach) GNE = C + I + G + (X-M) NI = GNE - Capital Consumption Allowance - Indirect Tax
องค์ประกอบของรายได้ประชาชาติองค์ประกอบของรายได้ประชาชาติ
องค์ประกอบของรายได้ประชาชาติองค์ประกอบของรายได้ประชาชาติ • การใช้จ่ายเพื่อการบริโภค (Consumption : C) • การใช้จ่ายเพื่อการลงทุน (Investment : I) • การใช้จ่ายของรัฐบาล (Government Expenditure : G) • การส่งออกสุทธิ (Net Export : X-M)
Y = C + I + G + (X – M) (1) ตามแบบจำลองอย่างง่ายของ เคนส์เซี่ยน (Simple Keynesian Economic Model)เงื่อนไขผลผลิตดุลยภาพY = E = C + I + G (2) Y คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมปะชาชาติ (GNP) E คือ อุปสงค์มวลรวม (AD = C + I + G)ถ้าผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติด้านรายได้Y = C + S + T (3)เงื่อนไขรายได้ดุลยภาพ (2) = (3) C + I + G = C + S + T I + G = S + T(4)
ภาษี(T) รายได้ ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ การบริโภค(C) GDP การออม(S) การลงทุน(I) ตลาดการเงิน การใช้จ่าย(G) ภาษี(T) ภาครัฐบาล กระแสการหมุนเวียนของรายได้และผลผลิต ในระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล
ส่วนกระตุ้นในระบบเศรษฐกิจ (Injection): เมื่อเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจะทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มสูงขึ้นหรือขยายตัว - การใช้จ่ายเพื่อการบริโภค (C)- การลงทุน(I)- การใช้จ่ายรัฐบาล (G) - การส่งออก (X) • ส่วนรั่วในระบบเศรษฐกิจ (Leakage) : เมื่อเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจะทำให้รายได้ประชาชาติลดลงหรือหดตัว - การออม (S)- ภาษี (T)- การนำเข้า (M)
การบริโภค (Consumption : C) ความหมายของรายจ่ายเพื่อการบริโภคของภาคเอกชน (Private Consumption) - รายจ่ายเพื่อการบริโภคของภาคเอกชน (Private Consumption) หมายถึง รายจ่ายของครัวเรือนหรือประชาชนในการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค ต่างๆในงวดเวลาหนึ่งๆ ซึ่งรวมถึงรายจ่ายซื้อสินค้าที่บริโภคหมดไป ตลอดจน รายจ่ายค่าซื้อบริการต่างๆ (1) nondurable goods เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า อาหาร (2) durable goods เช่น ตู้เย็น โทรทัศน์ รถยนต์ (3) ค่าซื้อบริการต่างๆ เช่น บริการการแพทย์ บริการธนาคาร การศึกษา ค่าเช่าบ้าน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้จ่ายอุปโภคบริโภคของภาคเอกชนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้จ่ายอุปโภคบริโภคของภาคเอกชน (1) รายได้ประชาชาติ (ในทิศทางเดียวกัน) (2) อัตราภาษี (ในทิศทางตรงกันข้าม) (3) ระดับราคา (ในทิศทางตรงกันข้าม) (4) อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (ในทิศทางตรงกันข้าม) (5) อัตราดอกเบี้ย (ในทิศทางตรงกันข้ามกัน) (6) สินเชื่อผู้บริโภค (ในทิศทางเดียวกัน) (7) ทรัพย์สิน (ในทิศทางเดียวกัน) (8) การคาดคะเนอนาคต (ในทิศทางเดียวกัน/ทางดี-ทางร้าย) (9) ลักษณะการกระจายรายได้ (ในทิศทางเดียวกัน) (10)การเปลี่ยนแปลงรสนิยม (ในทิศทางเดียวกัน) (11)การเอาอย่างกันในการบริโภค (ในทิศทางเดียวกัน)
เคนส์และฟังก์ชันการบริโภค (Keynes an Consumption Function)
เคนส์และฟังก์ชันการบริโภค -ฟังก์ชั่นการบริโภค (Consumption Function) C = f(Yd) เมื่อ C = การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค Yd = Disposable Income เป็นรายได้สุทธิส่วนบุคคล ซึ่งพ้นภาระ ภาษีที่บุคคลสามารถนำไปจับจ่ายใช้สอยได้จริง - แบบจำลองการบริโภคที่ขึ้นอยู่กับรายได้ C = a + bYd เมื่อ a = ค่างคงที่ เป็นการบริโภคขณะที่รายได้เท่ากับศูนย์ (Autonomous consumption) ซึ่งไม่ขึ้นอยู่กับรายได้ (ระยะตัดแกนการบริโภค) b = ความโน้มเอียงที่จะใช้จ่ายอุปโภคบริโภคเมื่อรายได้เพิ่มขึ้น 1 หน่วย (Marginal Propensity to Consume หรือ MPC) (ความ ชันเส้นการบริโภค)
= APC = + b = MPC= bสรุป เมื่อ Y เพิ่มขึ้น APC จะลดลงAPC > MPC เพราะ APC = + MPC MPC มีค่าคงที่(= b) และ 0 < MPC < 1
C = a + bYd Yd = Y – T T = T0 การบริโภคขึ้น (C) อยู่กับรายได้หลังหักภาษี (Yd)ภาษี(T) เป็นแบบเหมาจ่าย (T0) (ไม่ขึ้นอยู่กับรายได้) C = a + b (Y – T0) C = a + bY – bT0 C = a – bT0 + bYโดยที่ a – bT0คือ ระยะตัดแกนการบริโภค(แกนตั้ง)b คือ ความชัน (Slope) ของเส้นการบริโภค
C C2= (a-bT0)/ + bY1 (a-bT0) C2 C1= (a-bT0) + bY1 C1 (a-bT0)/ (a-bT0) Y 0 Y1 การบริโภคขึ้น (C)เพิ่มขึ้น เมื่อการบริโภคที่ไม่ขึ้นกับรายได้เพิ่มขึ้น
การบริโภคขึ้น (C)เพิ่มขึ้น เมื่อการบริโภคที่ไม่ขึ้นกับรายได้เพิ่มขึ้น C2= 120 + 0.7Y1 C C1= 100 + 0.7Y1 20 C2=330 C1=310 120 100 Y 0 Y1=300
C = a + bYd Yd = Y – T T = T0 + tY การบริโภคขึ้น (C) อยู่กับรายได้หลังหักภาษี (Yd)ภาษี(T) เป็นแบบเหมาจ่าย (T0) และภาษีที่ขึ้นอยู่กับรายได้ (tY)(เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล) t คือ อัตราภาษี C = a + b (Y – T0 – tY) C = a + bY – bT0 - btY C = a – bT0 + bY – btY C = a – bT0 + (1 – t)bYโดยที่ a – bT0คือ ระยะตัดแกนการบริโภค(แกนตั้ง)(1 – t)b คือ ความชัน (Slope) ของเส้นการบริโภค
C C3= (a-bT0) + (1-t1)bY1 (a-bT0) C2 (t1 ) C3 C1 (t2 ) (a-bT0)/ C4 (a-bT0) Y 0 Y1 การบริโภคขึ้น (C)เพิ่มขึ้น เมื่อการบริโภคที่ไม่ขึ้นกับรายได้เพิ่มขึ้น และอัตราภาษีเปลี่ยน C2= (a-bT0)/ + (1-t)bY1 C1= (a-bT0) + (1-t0)bY1 C4= (a-bT0) + (1-t2)bY1
การบริโภคขึ้น (C)เพิ่มขึ้น เมื่อการบริโภคที่ไม่ขึ้นกับรายได้เพิ่มขึ้น และอัตราภาษีเปลี่ยน C C2= 400 + (1-0.2)0.7Y1 C3= 200 + (1-0.1)0.7Y1 (200) C2=680 (t1=0.1) C1= 200 + (1-0.2)0.7Y1 C3=515 (t2 =0.1) C1=480 C4= 200 + (1-0.3)0.7Y1 400 C4=396 200 0 Y Y1=500
ทฤษฎีการบริโภคภาคตัดขวางและแบบอนุกรมเวลา (Cross –Section and Time – series Consumption Function)
ทฤษฎีการบริโภคภาคตัดขวางและแบบอนุกรมเวลา C= 2.42 + 0.66Y (0.86) (47.48)** t-statR2 = 0.996 C C= 2.42 + 0.66Y C2=75.02 C1=68.42 2.42 Y 0 Y1=100Y2=110
การบริโภคภาคตัดขวาง ในเขตเทศบาล
การบริโภคภาคตัดขวาง นอกเขตเทศบาล
การบริโภคในระยะสั้นและระยะยาว (Short-run and Long-run Consumption Function)
C C= 0.9Y C2=117 C1=90 Y 0 Y1=100Y2=130 C= bY ; ไม่มี a หรือ ค่าคงที่ หรือระยะตัดแกนตั้ง=APC APC = MPC = b = MPC ข้อค้นพบของ Simon Kuznet C = bYและ APC เกือบจะคงที่ ซึ่งแตกต่างจากเดิม (ของเคนส์)