500 likes | 762 Views
GPS. GIS. RS. ระบบสารสนเทศ. Geographic Information Systems. RS. GIS. GPS. 3S Technology. ระบบบอกพิกัดตำแหน่งบนพื้นโลก ( Global Positioning System ) หรือเรียกย่อว่า GPS เพื่อใช้หาตำแหน่งต่างๆบนพื้นโลก
E N D
GPS GIS RS
ระบบสารสนเทศ • Geographic Information Systems RS GIS GPS 3S Technology
ระบบบอกพิกัดตำแหน่งบนพื้นโลกระบบบอกพิกัดตำแหน่งบนพื้นโลก (Global Positioning System) หรือเรียกย่อว่า GPS เพื่อใช้หาตำแหน่งต่างๆบนพื้นโลก ระบบบอกพิกัดตำแหน่งบนพื้นโลกเป็นวิธีที่ใช้หา เส้นรุ้ง เส้นแวง และระดับความสูงของตำแหน่งบนพื้นโลกโดยใช้คลื่นวิทยุ และรหัสที่ส่งจากดาวเทียม ณ เวลาใดๆ ในบริเวณหนึ่ง จะมีดาวเทียม GPS อยู่เหนือขอบฟ้าตั้งแต่ 5 – 8 ดวง เครื่องรับสัญญาณ จะรับสัญญาณที่ส่งมาจากดาวเทียมเหล่านั้น คอมพิวเตอร์ที่อยู่ภายในเครื่องรับสัญญาณ GPS จะคำนวณตำแหน่งและระดับความสูงของผู้ใช้ออกมา
องค์ประกอบ GPS • ส่วนอวกาศ • ส่วนสถานีควบคุม • ส่วนผู้ใช้
การทำงานของเครื่องรับ GPS • ดาวเทียมแต่ละดวงจะถ่ายทอดสัญญาณในรูปแบบคลื่นวิทยุ • เครื่องรับ GPS Receiverมีหน้าที่หลักๆ ก็คือรับสัญญาณจากดาวเทียม แล้วมาแปลงเป็นพิกัดของตำแหน่งที่มันอยู่บนพื้นโลก คำนวณและให้คำตอบจะมี 3 ค่า คือ พิกัด ความเร็วในการเคลื่อนที่ และ เวลา
ประโยชน์ GPS • หาตำแหน่งบนพื้นโลกได้ 24 ช.ม. • นำทาง • ติดตามการเคลื่อนที่ของคน สิ่งของ • ทำแผนที่ ใช้ระบุพิกัดพื้นที่แปลงโฉนดที่ดิน
ใช้ในการจัดทำแผนที่ • ได้ผลลัพธ์การกำหนดตำแหน่งออกมา 3 รูปแบบ • จุดตำแหน่ง (Waypoints) • เส้นทางการเคลื่อนที่(Tracks) • เส้นเชื่อมโยงจุดตำแหน่ง(Routes)
ภาพถ่ายจากดาวเทียม (satellite images) เป็นภาพแสดงพื้นผิวโลกที่ได้จากข้อมูล คอมพิวเตอร์ ในขณะที่ดาวเทียมแลนด์แซตโคจรรอบโลกก็จะเก็บข้อมูลของพื้นผิวโลกและส่งข้อมูลกลับมายังสถานีบนโลก ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1970 มีการเก็บข้อมูลผ่านดาวเทียมนำมาทำแผนที่ 1972 สหรัฐส่งชุดดาวเทียมแลนด์แซตเก็บข้อมูล
ภาพถ่ายจากดาวเทียม ประกอบด้วยจุดเล็กๆจำนวนมากเรียกว่า จุดภาพ(pixel) โดยแต่ละภาพจะมีสีสันแตกต่างกัน แต่ละจุดของภาพถ่ายจะเก็บข้อมูลของสีและความสว่างส่วนเล็กๆบนพื้นผิวโลก คอมพิวเตอร์จะแปลความหมายภาพถ่ายออกมาเป็นสีต่างๆ
การตีความหมายภาพถ่ายจากดาวเทียมการตีความหมายภาพถ่ายจากดาวเทียม ภาพถ่ายจากดาวเทียมที่เป็นสีแดง น้ำเป็นสีดำหรือสีน้ำเงิน เมืองเป็นสีเทาแถบน้ำเงิน
เปรียบเทียบแผนที่ ภูเก้า
ภาพถ่ายดาวเทียมLandsat ระบบTM อ่าวบ้านดอน สุราษฏร์ แบรนด์ 4 สีเขียวและแบรนด์ 5สีน้ำเงิน 2533 ข้อมูลดาวเทียม JERS-1ระบบ SAR สีแดง 2536 แดง-ป่าชายเลน เขียวอ่อน-สวนยางพารา น้ำเงิน –นาข้าว เขียวแก่เหลือง-สวนผสม ชมพู-แหล่งชุมชน
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ Geographic Information System หมายถึงกระบวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการดำเนินการเกี่ยวกับข้อมูลทางภูมิศาสตร์ 1.นำเข้าข้อมูล 2. การจัดเก็บข้อมูล ปรับปรุง 3. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. แสดงผลที่สามารถอ้างอิงตำแหน่งบนพื้นโลก รูปแผนที่ ตาราง คำบรรยาย
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ลักษณะของข้อมูลและการจัดเก็บในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ลักษณะของข้อมูลและการจัดเก็บในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สาธารณูปโภค อาคารสถานที่ สภาพพื้นที่จริง
หลักการทำงานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หลักการทำงานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 1.นำเข้าข้อมูล เชิงตัวเลข 2. ปรับแต่งข้อมูล 3. การบริหารข้อมูล 4. การเรียกค้นและการวิเคราะห์ข้อมูล - พื้นที่กันชน - การซ้อนทับข้อมูลเชิงพื้นที่ – วิเคราะห์แบบโครงข่าย – วิเคราะห์พื้นผิว(แบบTIN แบบDEM) 5. การนำเสนอข้อมูล
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มีลักษณะข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มีลักษณะข้อมูล • 1. ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data)นำเสนอเกี่ยวกับ รูปทรง ตำแหน่งจากพื้นโลกในรูปของ จุด เส้น รูปทรงหลายเหลี่ยม • 2. ข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) เป็นข้อมูลตารางอธิบายคุณลักษณะของข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ลักษณะข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ข้อมูลเชิงพื้นที่ แสดงผล 2 รูปแบบ - ข้อมูลแบบเวคเตอร์ Vector (จุด เส้น พื้นที่) เช่นถนน แม่น้ำ เขตการปกครอง ถ่ายโอนโดยใช้ระบบพิกัดทางแนวราบ( x,y)หรือระบบพิกัดคาร์เตเชียน หรือแนวดิ่ง - ข้อมูลแบบเรสเตอร์ Raster(แสดงเป็นตารางกริด)คือจุดของเซลที่อยู่ในช่วงสี่เหลี่ยม
ภาพ ก. เก้าอี้แสดงในแบบแรสเตอร์(ตารางกริด) และ ข. แบบเวคเตอร์
โครงสร้างข้อมูลแบบเวกเตอร์ จะแทนที่ลักษณะพื้นที่จริงด้วยรูปทรงเรขาคณิต 3 แบบ • จุด (Point)มีพิกัด X,Y(คาร์เตเซียน) • เส้น มีพิกัด (Arc)เช่นถนน • อาณาบริเวณ (Polygon) • หรือพื้นที่
การแสดงรูปแบบจำลองข้อมูล 2 รูปแบบ
3.วิเคราะห์ข้อมูล ใช้ข้อมูลมาซ้อนทับ วิเคราะห์แบบโครงข่าย ข้อมูลประเภทเส้นใช้กับคมนาคม วิเคราะห์พื้นผิว TIN , DEM
การวิเคราะห์พื้นผิว • การวิเคราะห์พื้นผิวแสดงเป็นภาพ 3 มิติ 1.โดยใช้โครงสร้างข้อมูลแบบเวคเตอร์ใช้ TIN • The Triangulated Irregular Network นำเสนอพื้นผิวโลกโดยใช้การเชื่อมโยงระหว่างจุดพิกัดและความสูง x y และ z ใช้โครงข่ายสามเหลี่ยมหลายรูปค่า Z อยู่จุดยอดของสามเหลี่ยม
- โครงข่ายสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า The Triangulated Irregular Network หรือ TIN- สำหรับจำลองความสูงเชิงตัวเลข แบบจำลองระดับความสูงเชิงตัวเลข (Digital Elevation Model หรือ DEM)เลี่ยงปัญหาความซ้ำซ้อนโดยจำลองภูมิประเทศใช้ กริดเซลล์ โยงต่อเนื่องกัน
2.DEM • ใช้โครงสร้างแบบราสเตอร์ (แรสเตอร์)โดยใช้กริดเซลล์ข่ายสี่เหลี่ยมขนาดเท่ากันเรียงต่อ
การใช้แผ่นภาพบล็อกเพื่อแสดงรายละเอียดภูมิประเทศการใช้แผ่นภาพบล็อกเพื่อแสดงรายละเอียดภูมิประเทศ
การวางซ้อนแผนที่ แต่ละแผ่นจะบันทึกความเป็นจริงด้านใดด้านหนึ่ง
การวิเคราะห์พื้นผิวประยุกต์ใช้กับภาพตัดขวางได้ข้อมูลดาวเทียมร่วมกับ DEM http://www.disaster.go.th/news01/webddpm/gallery2/10.jpg
ภาพสามมิติของแผนที่แสดงลักษณะขั้นบันไดจำแนกประเภทการใช้ที่ดินภาพสามมิติของแผนที่แสดงลักษณะขั้นบันไดจำแนกประเภทการใช้ที่ดิน
ข้อมูลจริงรูปถ่ายทางอากาศข้อมูลจริงรูปถ่ายทางอากาศ