1 / 26

แนวทางการบูรณาการศูนย์เรียนรู้

แนวทางการบูรณาการศูนย์เรียนรู้. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. แหล่งเรียนรู้การเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ศูนย์ปราชญ์ชาวบ้าน. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน สป.กษ. ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียงของกรมต่างๆ ในสังกัด กษ.

Download Presentation

แนวทางการบูรณาการศูนย์เรียนรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการบูรณาการศูนย์เรียนรู้แนวทางการบูรณาการศูนย์เรียนรู้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  2. แหล่งเรียนรู้การเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แหล่งเรียนรู้การเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์ปราชญ์ชาวบ้าน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน สป.กษ. ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียงของกรมต่างๆ ในสังกัด กษ. - ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง (กรมส่งเสริมการเกษตร) - ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน (ส.ป.ก./ปศุสัตว์/ประมง) - ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน (พด.) - ฯลฯ

  3. แนวคิดในการบูรณาการศูนย์เรียนรู้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2551 (จากผลการหารือของ ผตร.ที่ หัวหน้า ผตร.มอบหมาย) 1. โครงสร้างการบริหารจัดการ 2. เป้าหมาย/ประเภทศูนย์เรียนรู้ฯ 3. ระบบงบประมาณ

  4. 1. โครงสร้างการบริหารจัดการ ส่วนกลาง ศจพ.กษ. คจพ.กษ.จ. ส่วนภูมิภาค คจพ.กษ.อ. หน่วยปฏิบัติการ อำนวยการและประสานงาน (กษ.จ.)

  5. 1. โครงสร้างการบริหารจัดการ (ต่อ) ส่วนกลาง (ตามคำสั่ง กษ ที่ 386/2550 ลว. 10 ต.ค. 2550)

  6. 1. โครงสร้างการบริหารจัดการ (ต่อ) ศจพ.กษ.

  7. 1. โครงสร้างการบริหารจัดการ (ต่อ) ส่วนภูมิภาค คจพ.กษ.จ. คจพ.กษ.อ.

  8. 1. โครงสร้างการบริหารจัดการ (ต่อ) คจพ.กษ.จ. (ตามคำสั่ง ศจพ.กษ. ที่ 1/2550 ลว. 10 ต.ค. 2550)

  9. 1. โครงสร้างการบริหารจัดการ (ต่อ) คจพ.กษ.อ. (ตามคำสั่ง ศจพ.กษ. ที่ 2/2550 ลว. 10 ต.ค. 2550)

  10. 1. โครงสร้างการบริหารจัดการ (ต่อ) หน่วยปฏิบัติการ (ภาค/เขต/จังหวัด)

  11. 1. โครงสร้างการบริหารจัดการ (ต่อ) ศูนย์กลาง/วางแผน/บูรณาการ/ติดตาม/ประเมินผล อำนวยการและประสานงาน (กษ.จ.) จัดตั้งศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน บริหารจัดการข้อมูล จัดระบบงานเข้าถึงศูนย์ ประชาสัมพันธ์

  12. 2. เป้าหมาย/ประเภท ศูนย์เรียนรู้ฯ ศูนย์ที่ราชการให้การเรียนรู้ (ศูนย์หลัก) เป้าหมาย ศูนย์ที่เกษตรกรให้การเรียนรู้(ศูนย์เครือข่าย,ศูนย์ปราชญ์) ตามแนวทฤษฎีใหม่ ประเภท พัฒนาการผลิตตามอาชีพหลักของพื้นที่ สาธิตการผลิตอาชีพตามแนวใหม่ ฯลฯ

  13. 3. ระบบงบประมาณ (กษ.จ.) ทำแผนบูรณาการและงบประมาณเสนอ กษ. ศูนย์ประสานงานงบประมาณ จัดสรรงบประมาณให้หน่วยปฏิบัติการ มอบหมายหน่วยปฏิบัติการควบคุมตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ

  14. การปฏิบัติการในจังหวัดจะสำเร็จ ต้องทราบ? 1. ข้อมูลศูนย์เรียนรู้ฯ (จำนวน/พื้นที่/หลักสูตร/ฯลฯ) 2. เป้าหมายเกษตรกร (จำนวน/รายชื่อ) 3. งบประมาณ (รายหน่วยงาน)

  15. ข้อมูลศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนในจังหวัดข้อมูลศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนในจังหวัด จำนวนศูนย์เรียนรู้ฯ (ศูนย์หลัก, ศูนย์เครือข่าย, ศูนย์ปราชญ์ชาวบ้าน และศูนย์เรียนรู้ฯ กรมต่างๆ) สถานที่ตั้ง/เนื้อที่/เป้าหมายจำนวนที่รองรับได้ กิจกรรมศูนย์ทำอะไร ใครถ่ายทอดความรู้ ระยะเวลาถ่ายทอด

  16. เป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนผู้สนใจเข้าเรียนรู้ จำแนกตามกลุ่มเกษตรกร เกษตรกรยากจนตามทะเบียน ส.ย. เกษตรกรที่มีปัญหาหนี้สิน เกษตรกรหมู่บ้านยากจนเกษตรกรทั่วไป บุคคลที่สนใจ/ยุวเกษตรกร เกษตรกรทฤษฏีใหม่(โดยใช้รหัสบัตรประจำตัวประชาชน 13 หลัก เป็นตัวกำกับ) ข้อมูลเป้าหมายเกษตรกรจากศูนย์ต่างๆ ของกรม เกษตรกรต้องการเรียนรู้จากศูนย์ไหน/เรื่องอะไร เกษตรกรต้องสมัครใจ (ไม่ถูกเกณฑ์มา)

  17. งบประมาณ - งบประมาณการดำเนินงานตามกิจกรรมของแต่ละศูนย์ - งบประมาณของหน่วยงานนอกสังกัดที่ให้การสนับสนุน

  18. ข้อมูลศูนย์เรียนรู้ฯ ของกษ.

  19. ข้อมูลศูนย์เรียนรู้ฯ ของกษ.

  20. ข้อมูลเบื้องต้น (ต่อ)

  21. ขั้นตอนการบูรณาการศูนย์เรียนรู้ฯ กษ. 1. บูรณาการศูนย์เรียนรู้ฯ 2. บูรณาการผู้เข้าร่วมโครงการ 3. บูรณาการงบประมาณ

  22. 1. บูรณาการศูนย์เรียนรู้ฯ วิธีการ 1.1 คจพ.กษ.จ./อ. พิจารณาคัดเลือกศูนย์ฯที่มีศักยภาพกิจกรรม การเกษตรครบทุกด้าน (พืช ปศุสัตว์ ประมง พัฒนาดิน ฯลฯ) 1.2 เป้าหมาย 876 อำเภอ ทั่วประเทศ (อำเภอละ 1 แห่ง) 1.3 กิจกรรมศูนย์เรียนรู้ฯของกรมต่างๆ ที่จะดำเนินการในปี 2551 ให้มาดำเนินการตามเป้าหมายข้อ 2

  23. 2. บูรณาการผู้เข้าร่วมโครงการ วิธีการ 2.1 กษ.จ. ควบคุม กำกับ ดูแล เป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ ทั้งหมด 2.2 กษ.จ. บูรณาการเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการของแต่ละกรม มาดำเนินการในศูนย์เรียนรู้ฯ ทั้ง 876 แห่ง (876 อำเภอ) 2.3 กษ.จ. จัดทำข้อมูล วิเคราะห์ ติดตาม และประเมิน การขยายผลของเกษตรกรที่ผ่านการเรียนรู้จากศูนย์ ทั้ง 876 แห่ง (876 อำเภอ) 2.4 ให้ศูนย์ปราชญ์ รับเกษตรกรเป้าหมายที่ผ่านการอบรมจากศูนย์เรียนรู้ (จากปีที่ผ่านมาถึงปัจจุบัน หรือของกรมต่างๆ) ไปฝึกอบรมต่อหรือให้ปราชญ์มาถ่ายทอดความรู้ในศูนย์เรียนรู้ฯ โดยใช้ งปม.จาก กนท.

  24. 3. บูรณาการงบประมาณ วิธีการ 3.1 กษ.จ. บูรณาการงบประมาณ ควบคุม และกำกับการใช้จ่าย งบประมาณ ของทุกหน่วยงานในสังกัด กษ. โดยให้แต่ละกรม ที่ร่วมบูรณาการ นำงบประมาณมาสนับสนุนตามกิจกรรม ของแต่ละกรมภายในศูนย์ฯ ทั้ง 876 แห่ง (876 อำเภอ) 3.2 กษ.จ. จะสนับสนุนงบประมาณเสริมในกิจกรรม ของกรมต่างๆที่ยังดำเนินการในศูนย์เรียนรู้ไม่ครบถ้วน หรือยังขาด (เฉพาะงบดำเนินงาน: ค่าอำนวยการ ค่าพัฒนาแปลง ค่าปัจจัยการผลิตไม่มีค่าตอบแทนเกษตรกร) 3.3 กษ.จ. ติดตาม และรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณในภาพรวม

  25. กษ.จ.ต้องดำเนินการ ดังนี้ 1. จัดทำแผนคำของบประมาณโครงการศูนย์เรียนรู้ฯ ในลักษณะบูรณาการ อำเภอละ 1 แห่ง (876 อำเภอ) 2. ส่งแผนคำของบประมาณตามข้อ 1 ภายในวันศุกร์ที่ 28 ธันวาคม 2550 หมายเหตุ กรณีที่ กษ.จ. ไม่ดำเนินการ หรือดำเนินการล่าช้า จะดำเนินการดังนี้ - ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ - จะพิจารณาโทษ - ส่งอบรมในศูนย์ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นเวลา 3 เดือน

  26. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ต้องดำเนินการ ดังนี้ 1. เชิญผู้แทนกรมที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมทำความเข้าใจ ในรายละเอียดการบูรณาการโครงการ เพื่อนำนโยบายไปสู่ การปฏิบัติให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน (วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม 2550) 2. พิจารณาและจัดสรรงบประมาณให้แล้วเสร็จภายในเดือน มกราคม 2551

More Related