600 likes | 859 Views
ความหมาย จุดมุ่งหมายการรักษาวินัย และ บทบาทผู้ดำเนินการทางวินัย. ปรีชา นิศารัตน์. ข้าราชการต้อง ซื่อสัตย์สุจริต ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ รักษาความลับ ปฏิบัติตามคำสั่ง รักษาชื่อเสียง ฯลฯ. วินัย คือ แบบแผนความประพฤติ หรือ ข้อปฏิบัติ. วินัย คือลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการ
E N D
ความหมาย จุดมุ่งหมายการรักษาวินัย และ บทบาทผู้ดำเนินการทางวินัย ปรีชา นิศารัตน์
ข้าราชการต้อง ซื่อสัตย์สุจริต ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ รักษาความลับ ปฏิบัติตามคำสั่ง รักษาชื่อเสียง ฯลฯ วินัย คือ แบบแผนความประพฤติ หรือ ข้อปฏิบัติ
วินัยคือลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการวินัยคือลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการ • ควบคุมตนเอง • ปฏิบัติตามการนำ • อยู่ในระเบียบแบบแผน • มีความเป็นระเบียบ
จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการจุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการ 1. เพื่อให้ราชการดำเนินไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อความเจริญ ความสงบ เรียบร้อย ของประเทศชาติ
The 2006 - 2007 Corruption Perception Index (CPI) By Transparency International (TI) 2006 2007 Rank Country Point Rank Country Point 5 Singapore 9.4 4 Singapore 9.3 17 Japan 7.6 17 Japan 7.5 44 Malaysia 5.0 43 Malaysia 5.1 63 Thailand 3.6 84 Thailand 3.3 70 China 3.3 72 China 3.5 121 Philippines 2.5 131 Philippines 2.5 111 Vietnam 2.6 123 Vietnam 2.6 130 Indonesia 2.4 143 Indonesia 2.3
The Corruption Perception Index ( CPI ) by TI THAILAND s RANK Year CPI Rank Coverage ( countries ) 2000 3.20 68 98 2001 3.20 61 91 2002 3.20 64 102 2003 3.30 70 133 2004 3.60 64 146 2005 3.80 59 158 2006 3.60 63 163 2007 3.30 84 179 10 Points = Most Transparent 0 point = Most Corruption
“ ... ถ้าทุจริตแม้แต่นิดเดียว ก็ขอแช่งให้มีอันเป็นไป พูดอย่างนี้หยาบคาย แต่ว่าขอให้มีอันเป็นไป แต่ถ้าไม่ทุจริต สุจริตและมีความตั้งใจมุ่งมั่นสร้างความเจริญก็ขอให้ต่ออายุ ได้ถึง 100 ปี ส่วนคนไหนที่มีอายุมากแล้ว ขอให้แข็งแรง ความสุจริตจะทำให้ประเทศไทยรอดพ้นอันตราย...” พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน แก่คณะผู้ว่าราชการจังหวัดแบบบูรณาการ ในโอกาสเข้าเฝ้า ถวายสัตย์ปฏิญาณ เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546
“ ...ท่านผู้ใหญ่ไปตรวจราชการที่ไหน ถ้าไปถึงไม่มี ใครเลี้ยงก็โกรธ แต่ถ้าไปถึงแล้วเลี้ยงก็พอใจ แต่ว่าเงินที่เลี้ยง น่ะเอามาจากไหน เมื่อไม่มีเงินรับรองของส่วนภูมิภาค ก็ต้องไปเรี่ยไรกัน ไปเรี่ยไรจากข้าราชการชั้นผู้น้อย หรือ ไม่อย่างนั้นก็ไปขูดรีดจากพ่อค้า แล้วพ่อค้าก็ต้องถือว่าเป็น การลงทุน ก็กลายเป็นคอร์รัปชั่นไป” พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน 2512
จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการจุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการ 1. เพื่อให้ราชการดำเนินไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อความเจริญ ความสงบ เรียบร้อย ของประเทศชาติ 3. เพื่อความผาสุกของประชาชน 4. เพื่อสร้างภาพพจน์ชื่อเสียงที่ดี ของทางราชการ
ความดี • เพิ่มพลังงาน • เพิ่มประสิทธิภาพ • เพิ่มประสิทธิผล • ประชาชนศรัทธา ความสำเร็จ ความเจริญ
สาเหตุวินัยเสื่อม • อบายมุข
อบายมุข 6 ผีหนึ่ง ชอบดื่มสุราเป็นอาจิณ ไม่ชอบกินข้าวปลาเป็นอาหาร ผีสอง ชอบท่องเที่ยวยามวิกาล ไม่รักลูกรักบ้านของตน ผีสาม ชอบเที่ยวดูการละเล่น ไม่ละเว้นบาร์คลับละครโขน ผีสี่ ชอบคบคนชั่วมั่วกับโจร หนีไม่พ้นอาญาตราแผ่นดิน ผีห้า ชอบเล่นไพ่เล่นม้ากีฬาบัตร สารพัดถั่วโปไฮโลสิ้น ผีหก ชอบเกียจคร้านการหากิน มีทั้งสิ้นหกผีอัปรีย์เอย
สาเหตุวินัยเสื่อม • อบายมุข • ตัวอย่างไม่ดี • ขวัญไม่ดี • งานล้นมือ ความจำเป็นในการครองชีพ • โอกาสเปิดช่องล่อใจ
โอกาส ไม่ผิด ผิด ความ ปรารถนา
สาเหตุวินัยเสื่อม • อบายมุข • ตัวอย่างไม่ดี • ขวัญไม่ดี • งานล้นมือ • ความจำเป็นในการครองชีพ • โอกาสเปิดช่องล่อใจ • การปล่อยปละละเลยของผู้บังคับบัญชา
เหตุทางใจที่ก่อให้เกิดการกระทำผิดวินัยเหตุทางใจที่ก่อให้เกิดการกระทำผิดวินัย * ล่อใจ * ไม่เข้าใจ * ตามใจ * ไม่มีจิตใจ * ไม่ใส่ใจ * จำใจ * ชะล่าใจ * เจ็บใจ * เผลอใจ * ตั้งใจ
การรักษาวินัยโดยองค์กรการรักษาวินัยโดยองค์กร 1. กำหนดนโยบาย 2. ออกระเบียบและกฎเกณฑ์ 3.ส่งเสริมและสนับสนุน 4.กำชับ
เอาใจใส่ สังเกตการณ์ ขจัดเหตุ สอบสวน ลงโทษ ทักท้วง การ รักษาวินัย ป้องกัน ปราบปราม เสริมสร้างและพัฒนา ปฏิบัติตน ฝึกอบรม สร้างขวัญ จูงใจ การอื่น เป็นแบบอย่าง พัฒนา กำลังใจ
การรักษาวินัยโดยผู้เกี่ยวข้องการรักษาวินัยโดยผู้เกี่ยวข้อง 1. ผู้ตรวจราชการ 2. บุคลากร 3.เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม 4.ผู้ดำเนินการทางวินัย
1. ไม่สนับสนุน 2. สอดส่องดูแล 3.ร้องเรียน การรักษาวินัยโดยสังคม
ขั้นตอนในการสร้างวินัยขั้นตอนในการสร้างวินัย ควบคุม สร้างเงื่อนไข ใช้ภาวะผู้นำ ประคับประคอง สร้างเงื่อนไข ฝึกอบรม ต้อนรับ ปฐมนิเทศ แจกคู่มือข้าราชการ เทคนิค ขั้นตอน พฤติกรรม 3.ผิว ความรู้สึก 2.พื้น ทัศนคติ ความรู้ 1.รองพื้น
ปัจจัยส่งเสริมวินัย 4. คุณธรรม 3. ค่านิยม 2.กำลังใจ 1. ขวัญ
วิธีการเสริมสร้างขวัญวิธีการเสริมสร้างขวัญ 1. รับขวัญ 3. ทำขวัญ 2.ปลอบขวัญ 4. บำรุงขวัญ
วิธีการสร้างกำลังใจ 1. สนองความต้องการ 2. สร้างศรัทธา 3.สร้างเงื่อนไขให้จำเป็น 4.สร้างเงื่อนไขให้กลัว
การสร้างค่านิยม 1.ตั้งปณิธาน 2.ตั้งอุดมการณ์
โทษทางวินัย • 1. โทษสำหรับความผิดอย่างไม่ร้ายแรง • ภาคทัณฑ์ • ตัดเงินเดือน • ลดเงินเดือน • 2. โทษสำหรับความผิดอย่างร้ายแรง • ปลดออก • ไล่ออก
อำนาจการลงโทษสถานเบา (กฎ ก.พ. ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2536)) โทษ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้น ฯ เลขานุการกรม ผู้อำนวยการกอง หัวหน้ากอง หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่ากอง หัวหน้าส่วนราชการที่สูงกว่ากอง นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ได้รับมอบหมายตามมาตรา 43 ในฐานะอธิบดี ผู้บังคับบัญชา 5% 1 เดือน 5% 2 เดือน 5% 3 เดือน 1 ขั้น
ประเทศชาติ ประชาชน ผู้บังคับบัญชา ข้าราชการ ตำแหน่งหน้าที่ ผู้ร่วมงาน ตนเอง
การร้องเรียน / กล่าวโทษ / กล่าวหา ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเบื้องต้น มีมูล ปรากฏตัวผู้กล่าวหา ดำเนินการทางวินัย ไม่ปรากฏตัวผู้กล่าวหา • บัตรสนเท่ห์ ไม่มีมูล มีมูล สอบสวน ยุติเรื่อง สืบสวน
กรณีมีมูลความผิดทางวินัยกรณีมีมูลความผิดทางวินัย การดำเนินการทางวินัย ไม่ร้ายแรง ร้ายแรง สอบสวนตามที่เห็นสมควร แต่งตั้ง กก. สอบสวน อ.ก.พ. สามัญ ปลัดฯ / รมต. / นายกฯ ผบ. สั่งลงโทษ รายงานเพื่อตรวจสอบ ไม่ร้ายแรง ร้ายแรง รายงานเพื่อตรวจสอบ ภาค/ตัด/ลด ปลด / ไล่ ก.พ. อ.ก.พ. กระทรวง เพื่อทะเบียนประวัติ
คุณสมบัติของผู้ดำเนินการทางวินัยคุณสมบัติของผู้ดำเนินการทางวินัย 1. รอบรู้ 2. มีคุณธรรม 3. มีความกล้าหาญ
บทบาทของผู้ดำเนินการทางวินัยบทบาทของผู้ดำเนินการทางวินัย บทอ่อน บทแข็ง บทกลาง ผู้ทำตามกฎหมาย ผู้ทำตามนโยบาย ผู้ปราบปราม ผู้ประนีประนอม ผู้รักษาประโยชน์ของราชการ ผู้รักษาประโยชน์ข้าราชการ ผู้รักษาอาญาสิทธิ์ ผู้รักษาตัวรอด ผู้แสวงประโยชน์ ผู้แสวงบุญ ผู้ทรงไว้ซึ่งความยุติธรรม
สิทธิของผู้ถูกกล่าวหาสิทธิของผู้ถูกกล่าวหา 1. ได้รับแจ้งคำสั่งแต่งตั้ง คกก.สอบสวน (สว.1) 2. คัดค้านกรรมการสอบสวน 3. ได้รับแจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา (สว.2) 4. ได้รับแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน (สว.3) 5. ชี้แจงและให้ถ้อยคำแก้ข้อกล่าวหา 6. นำสืบแก้ข้อกล่าวหา 7. นำทนายความ หรือที่ปรึกษาเข้าร่วมในการสอบสวน
การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ คือ การพิจารณาวินิจฉัยว่า ผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำผิดวินัยในกรณีใดตามมาตราใดและควรจะลงโทษในสถานใดหรือไม่ ทั้งนี้ เป็นกระบวนการที่จะต้องทำโดยผู้มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาตามที่กฎหมาย (พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน) กำหนดไว้
ขั้นตอนของกระบวนการพิจารณาความผิด กำหนดโทษและการลงโทษ เมื่อการสอบสวนวินัยได้ข้อเท็จจริงเป็นยุติ พิจารณาความผิดว่าผิดหรือไม่ ? มาตราใด ? พิจารณากำหนดโทษ ว่าควรได้รับโทษสถานใด ? การสั่งลงโทษ
ผู้พิจารณาความผิดและกำหนดโทษผู้พิจารณาความผิดและกำหนดโทษ ความผิดไม่ร้ายแรง กำหนดโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน ความผิดเล็กน้อย งดโทษ ว่ากล่าวตักเตือน ทำทัณฑ์บน ความผิดร้ายแรงกำหนดโทษ ปลดออก ไล่ออก อ.ก.พ.กรม อ.ก.พ.กระทรวง อ.ก.พ.จังหวัด ผู้บังคับบัญชา องค์กรตรวจสอบ1. อ.ก.พ.กระทรวง 2. ก.พ.3. นายกรัฐมนตรี 4. คณะรัฐมนตรี
อำนาจการลงโทษสถานเบา (กฎ ก.พ. ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2536)) โทษ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้น ฯ เลขานุการกรม ผู้อำนวยการกอง หัวหน้ากอง หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่ากอง หัวหน้าส่วนราชการที่สูงกว่ากอง นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้บังคับบัญชา 5% 1 เดือน 5% 2 เดือน 5% 3 เดือน 1 ขั้น
การสั่งลงโทษความผิดวินัยอย่างร้ายแรงการสั่งลงโทษความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ผู้สั่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน อ.ก.พ. ผู้ว่าราชการจังหวัด อ.ก.พ. จังหวัด อธิดี อ.ก.พ. กรม ปลัดกระทรวง รัฐมนตรี อ.ก.พ. กระทรวง นายกรัฐมนตรี
หลักการพิจารณาความผิดหลักการพิจารณาความผิด 2. หลักมโนธรรม 1. หลักนิติธรรม
หลักนิติธรรม คือการพิจารณาตามตัวบทกฎหมาย - มีบทกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด - การกระทำเข้าองค์ประกอบ ความผิดทุกประการ
หลักมโนธรรมหมายถึง การพิจารณาทบทวนให้รอบคอบโดยคำนึงถึงความเป็นจริงความถูกต้องเหมาะสมที่ควรจะเป็น
มโนธรรม(CONSCIENCE) คือ สติสัมปชัญญะ = ความสำนึกว่าผิดหรือถูก ควรหรือ ไม่ควร = การคิดให้ครบถ้วนทั้งระบบ = การประยุกต์ใช้หลักตลอดเวลา ผล ได้ความจริง และ ความยุติธรรม
หลักการพิจารณาความผิดหลักการพิจารณาความผิด การกระทำใดจะผิดวินัยก็ต่อเมื่อ กระทำหรือละเว้น กฎหมายกำหนดว่าผิด มีผลเข้าจุดมุ่งหมายของวินัย ทำโดยเจตนาหรือประมาท
หลักการพิจารณากำหนดโทษหลักการพิจารณากำหนดโทษ 1. หลักนิติธรรม 2. หลักมโนธรรม 3. หลักความเป็นธรรม 4. นโยบายของทางราชการ
มาตรา 80 ข้าราชพลเรือนต้องรักษาวินัยโดยกระทำการหรือไม่กระทำการตามที่บัญญัติไว้ในบทนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ มาตรา 88 ข้าราชพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำผิดวินัยจะต้องได้รับโทษทางวินัย ...
โทษทางวินัย • 1. โทษสำหรับความผิดอย่างไม่ร้ายแรง • ภาคทัณฑ์ • ตัดเงินเดือน • ลดขั้นเงินเดือน • 2. โทษสำหรับความผิดอย่างร้ายแรง • ปลดออก • ไล่ออก
จุดมุ่งหมายของการลงโทษทางวินัยจุดมุ่งหมายของการลงโทษทางวินัย 1. เพื่อรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผน 2. เพื่อรักษามาตรฐานความประพฤติ ขวัญ และสมรรถภาพของข้าราชการ 3. เพื่อจูงใจให้ข้าราชการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น 4. เพื่อรักษาชื่อเสียงของทางราชการและความเชื่อมั่นของประชาชนต่อหน้าที่ราชการ
คุณสมบัติของผู้มีอำนาจสั่งลงโทษคุณสมบัติของผู้มีอำนาจสั่งลงโทษ * ต้องเป็นผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย * ต้องเป็นผู้บังคับบัญชาที่กฎหมายบัญญัติให้มี อำนาจลงโทษข้าราชการ / ได้รับมอบหมายจาก ผู้มีอำนาจลงโทษ
กฎหมายที่กำหนดตำแหน่งผู้บังคับบัญชากฎหมายที่กำหนดตำแหน่งผู้บังคับบัญชา 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ แผ่นดิน พ.ศ. 2534 2. กฎหมายจัดตั้งส่วนราชการโดยเฉพาะ
ข้อควรคำนึงในการสั่งลงโทษข้อควรคำนึงในการสั่งลงโทษ 2. ผู้ถูกสั่งลงโทษมิใช่ผู้ใต้บังคับบัญชา 1. การสั่งลงโทษเกินอำนาจ 3. การลงโทษสถานหนักโดยไม่ได้ตั้งกรรมการสอบสวน(เว้นแต่ความผิดปรากฏชัดแจ้งตามกฎ ก.พ.) หรือไม่ได้เสนอ อ.ก.พ.จังหวัด อ.ก.พ.กรม หรือ อ.ก.พ.กระทรวง แล้วแต่กรณี 4. การสั่งลงโทษต้องไม่ย้อนหลัง (มีข้อยกเว้น) 5. สภาพการเป็นข้าราชการ