180 likes | 358 Views
เทคโนโลยีเตาเผาฟลูอิไดซ์เบด. นาย สามารถ เวช ศาสตร์ รหัส 53402693 สายวิชาเทคโนโลยีพลังงาน. ฟลูอิไดซ์เบด คือ การที่ทำให้ของแข็งมีพฤติกรรมคล้าย ของเหลวที่สามารถไหลได้. หลักการทำงาน. ชนิดของเตาฟลูอิไดซ์เบด. ปัจจัยในการสัญดาปของเชื้อเพลิง. อาศัยปัจจัยที่สำคัญ 3 ประการ คือ
E N D
เทคโนโลยีเตาเผาฟลูอิไดซ์เบดเทคโนโลยีเตาเผาฟลูอิไดซ์เบด นาย สามารถ เวชศาสตร์ รหัส 53402693 สายวิชาเทคโนโลยีพลังงาน
ฟลูอิไดซ์เบด คือ การที่ทำให้ของแข็งมีพฤติกรรมคล้าย ของเหลวที่สามารถไหลได้
ชนิดของเตาฟลูอิไดซ์เบดชนิดของเตาฟลูอิไดซ์เบด
ปัจจัยในการสัญดาปของเชื้อเพลิงปัจจัยในการสัญดาปของเชื้อเพลิง อาศัยปัจจัยที่สำคัญ 3 ประการคือ 1. เวลาต้องนานเพียงพอ เพื่อให้เชื้อเพลิง เพื่อให้เชื้อเพลิงสันดาปหมดโดยไม่ถูกอากาศส่วนเกินนำออกจากปล่องควันก่อนถูกสันดาป 2. อุณหภูมิในการสันดาปต้องสูงพอที่จะทำให้เกิดการสันดาปอย่างต่อเนื่อง 3. การผสมระหว่างเชื้อเพลิงกับอากาศ ต้องอยู่ในลักษณะของการไหลแบบปั่นป่วน
เชื้อเพลิงชีวมวล ชีวมวล (Biomass) คือ สารอินทรีย์ที่เป็นแหล่งกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนำมาใช้ผลิตพลังงานได้ เช่น เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร หรือกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมการเกษตร (เช่น แกลบ ชานอ้อย ฟางข้าว) (หน่วย: พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน รายงานพลังงานของประเทศไทย 2552
พื้นที่ที่มีศักยภาพด้านชีวมวลพื้นที่ที่มีศักยภาพด้านชีวมวล
เชื้อเพลิงขยะ เชื้อเพลิงขยะ หมายถึง ขยะมูลฝอยที่ผ่านกระบวนการจัดการต่างๆ เช่น การคัดแยกวัสดุที่เผาไหม้ไม่ได้ออกมา การฉีกหรือตัดขยะมูลฝอยออกเป็นชิ้นเล็กๆ เชื้อเพลิงขยะที่ได้นี้จะมีความร้อนสูงกว่าหรือคุณสมบัติดเป็นเชื้อเพลิงที่ดีกว่าการนำขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมมาให้โดยตรง เนื่องจากมีองค์ประกอบทั้งทางกายภาพและเคมีสม่ำเสมอกว่า ข้อดีของเชื้อเพลิงขยะ คือค่าความร้อนสูง (เมื่อเปรียบเทียบกับขยะมูลฝอยที่เก็บรวมมา) ง่ายต่อการจัดเก็บ การขนส่ง การจัดการต่างๆรวมทั้งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ำกว่า
คุณลักษณะของเชื้อเพลิงขยะแต่ละประเภทและระบบการเผาไหม้ที่ใช้คุณลักษณะของเชื้อเพลิงขยะแต่ละประเภทและระบบการเผาไหม้ที่ใช้
การแปรรูปขยะมูลฝอยเป็นเชื้อเพลิงขยะการแปรรูปขยะมูลฝอยเป็นเชื้อเพลิงขยะ
เอกสารอ้างอิง • 1. นพคุณ ปวงอินใจ, ปรีชา หงษ์เวียงจันทร์ และปิยะณัฐ เจริญพร, 2553, การศึกษากระบวนการเผาไหม้ของเปลือกถั่วลิสงและเปลือกมะขามในเตาเผาชนิดฟลูอิไดซ์เบดแบบทรงกรวย โดยใช้ทรายและอลูมิน่าเป็นวัตถุเบด, ปริญญานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, หน้า 16 - 24. • 2. Kouprianov, V. and Permchart, W., 2003, “Emission from a Conical FBC Fired with a Biomass Fuel”, Applied Energy, Vol. 74, No. 3 – 4, pp. 383 – 392. • 3. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน,2552, การใช้ชีวมวลในประเทศไทยระหว่างปี 2547 - 2552 [Online], Available: http://www.dede.go.th/dede/index.php?option=com_content&view=article&id=140:-2546- 2551-&catid=58&Itemid=68[31 สิงหาคม 2554]. • 4. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2552, เทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากชีวมวล[Online], Available:http://www2.dede.go.th/km_ber/inneract/s3-1.pdf [20กันยายน 2554]. • 5. คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2552, เชื้อเพลิงที่ได้จากขยะมูลฝอย [Online], Available:http://users.domaindlx.com/wirc/Documents/Rdf_Waste.pdf [20 กันยายน 2554].