1 / 118

IAS 39 การรับรู้และการวัดมูลค่าตราสารการเงิน

IAS 39 การรับรู้และการวัดมูลค่าตราสารการเงิน. 2 5 กันยายน 2551. หัวข้อ. ตราสารการเงิน – การจัดประเภทและการวัดมูลค่า ตราสารอนุพันธ์และตราสารทางการเงินแบบผสม และการบัญชีเพื่อการป้องกันความเสี่ยง การประเมินการด้อยค่าของเงินให้กู้ยืมและการคำนวณ Effective Interest Rate. IAS 39.

meadow
Download Presentation

IAS 39 การรับรู้และการวัดมูลค่าตราสารการเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. IAS 39การรับรู้และการวัดมูลค่าตราสารการเงิน 25กันยายน 2551

  2. หัวข้อ • ตราสารการเงิน – การจัดประเภทและการวัดมูลค่า • ตราสารอนุพันธ์และตราสารทางการเงินแบบผสม และการบัญชีเพื่อการป้องกันความเสี่ยง • การประเมินการด้อยค่าของเงินให้กู้ยืมและการคำนวณ Effective Interest Rate

  3. IAS 39 • ขอบเขตของมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศฉบับที่ 39 “เรื่อง การรับรู้และการวัดมูลค่าตราสารการเงิน (IAS 39)”: • การรับรู้รายการและการตัดรายการออกจากบัญชี • การจัดประเภทรายการ • การวัดมูลค่า • การบัญชีเพื่อการป้องกันความเสี่ยง

  4. IAS 39 การด้อยค่า การรับรู้รายการและ การตัดรายการอกจากบัญชี การวัดมูลค่า IAS 39 การบัญชีเพื่อการป้องกัน ความเสี่ยง อนุพันธ์แฝง

  5. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่ครอบคลุมถึง:มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่ครอบคลุมถึง: • ส่วนได้เสียในบริษัทย่อย (IAS 27), บริษัทร่วม(IAS 28) และกิจการร่วมค้า(IAS 31) • สิทธิและภาระผูกพันภายใต้สัญญาเช่าระยะยาว (IAS 17) • สิทธิและภาระผูกพันของพนักงานภายใต้แผนสิทธิประโยชน์ของพนักงาน (IAS 19) • ตราสารการเงินที่ออกโดยกิจการซึ่งเข้าเงื่อนไขของตราสารทุนตามนิยามที่ระบุใน IAS 32 • สัญญาประกันภัย (IFRS 4) • สัญญาสำหรับผลตอบแทนที่อาจเกิดขึ้นในการรวมกิจการ (IFRS 3) ในด้านผู้ซื้อกิจการ • สัญญาระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายในการรวมธุรกิจ ที่จะซื้อหรือขายกิจการในอนาคต (IFRS 3) • ภาระผูกพันที่จะให้สินเชื่อ (IAS 37) • รายการจ่ายชำระที่ใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ (IFRS 2)

  6. ตราสารการเงิน (Financial instruments)

  7. ตราสารการเงินคำจำกัดความตราสารการเงินคำจำกัดความ • สินทรัพย์ทางการเงิน • หนี้สินทางการเงิน หมายถึง สัญญาใด ๆ ที่ทำให้สินทรัพย์ทางการเงินของกิจการหนึ่ง และหนี้สินทางการเงินหรือตราสารทุนของอีกกิจการหนึ่งเพิ่มขึ้นในเวลาเดียวกัน แบ่งเป็น

  8. ตราสารการเงินสินทรัพย์ทางการเงินตราสารการเงินสินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง สินทรัพย์ดังต่อไปนี้ • เงินสด • สิทธิตามสัญญาที่จะได้รับเงินสดหรือสินทรัพย์ทางการเงินอื่นจากกิจการอื่น • สิทธิตามสัญญาที่จะแลกเปลี่ยนเครื่องมือทางการเงินของกิจการกับเครื่องมือทางการเงินของกิจการอื่นภายใต้เงื่อนไขที่จะเป็นประโยชน์ต่อกิจการ • ตราสารทุนของกิจการอื่น

  9. ตราสารการเงินหนี้สินทางการเงินตราสารการเงินหนี้สินทางการเงิน หมายถึง สัญญาที่ทำให้กิจการเกิดภาระผูกพันที่จะต้องปฏิบัติตามข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ ก) ส่งมอบเงินสดหรือสินทรัพย์ทางการเงินอื่นให้แก่กิจการอื่น ข) แลกเปลี่ยนเครื่องมือทางการเงินกับกิจการอื่นภายใต้เงื่อนไขที่อาจทำให้กิจการเสียประโยชน์

  10. ตราสารการเงินตัวอย่างตราสารการเงินตัวอย่าง เงินลงทุน ลูกหนี้และ เงินให้สินเชื่อ รายการระหว่างธนาคารและตลาดทุน ตราสารอนุพันธ์ ตราสารทางการเงิน แบบผสม เงินฝากธนาคาร เงินกู้ยืม

  11. สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์ถาวร หุ้นทุนของกิจการ ตราสารการเงินตัวอย่าง

  12. ตราสารการเงินการจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงินตราสารการเงินการจัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงิน • จัดประเภทสินทรัพย์ทางการเงินเป็น 4 ประเภท คือ • สินทรัพย์ทางการเงินที่แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านงบกำไรขาดทุน (FVPL) • สินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย (Available for sale) • สินทรัพย์ทางการเงินที่จะถือจนครบกำหนด (Held to maturity) • เงินให้สินเชื่อและลูกหนี้ (Loans and receivables)

  13. สินทรัพย์ทางการเงินFVPLสินทรัพย์ทางการเงินFVPL • สินทรัพย์ทางการเงินประเภทเพื่อค้า • ถือโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขายหรือทำกำไรในระยะเวลาอันสั้น • ตราสารอนุพันธ์ (ยกเว้นตราสารอนุพันธ์ที่ถูกกำหนดให้เป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง) • สินทรัพย์ทางการเงินที่กิจการกำหนดให้แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านงบกำไรขาดทุน

  14. สินทรัพย์ทางการเงินHeld to maturity หมายถึง สินทรัพย์ทางการเงินที่มิใช่ตราสารอนุพันธ์ซึ่งมีการระบุหรือกำหนดการจ่ายชำระเงินและระบุวันครบกำหนดที่แน่นอน • กิจการมีความตั้งใจแน่วแน่และมีความสามารถเพียงพอที่จะถือไว้จนครบกำหนด

  15. สินทรัพย์ทางการเงินLoans and receivables คือ สินทรัพย์ทางการเงินที่ • มิใช่ตราสารอนุพันธ์ • ระบุหรือกำหนดการจ่ายชำระเงินแน่นอน • ไม่มีราคาเสนอซื้อขายในตลาดซื้อขายคล่อง

  16. สินทรัพย์ทางการเงินAvailable for sale สินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย คือ สินทรัพย์ที่ไม่ได้จัดประเภทเป็น • สินทรัพย์ทางการเงินที่แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านงบกำไรขาดทุน (FVPL) • สินทรัพย์ทางการเงินที่จะถือจนครบกำหนด (Held to maturity) • เงินให้สินเชื่อและลูกหนี้ (Loans and receivables)

  17. หนี้สินทางการเงินการจัดประเภทหนี้สินทางการเงินการจัดประเภท จัดประเภทหนี้สินทางการเงินเป็น 2ประเภท คือ • หนี้สินทางการเงินที่วัดด้วยมูลค่ายุติธรรม (FVPL) • หนี้สินทางการเงินอื่น

  18. การวัดมูลค่าตราสารการเงินการวัดมูลค่าตราสารการเงิน

  19. การวัดมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงินการวัดมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงิน * สินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่ได้แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านงบกำไรขาดทุนจะรวมต้นทุนในการทำรายการ

  20. การวัดมูลค่าหนี้สินทางการเงินการวัดมูลค่าหนี้สินทางการเงิน * หนี้สินทางการเงินที่ไม่ได้แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านงบกำไรขาดทุนจะรวมต้นทุนในการทำรายการ

  21. การวัดมูลค่า Fair value accounting Why fair value accounting ? Fair value accounting for financial instruments introduced by IAS 39. What is fair value ? “Fair value is the amount for which an asset could be exchanged, or a liability settled, between knowledgeable, willing parties in an arm’s length transaction.” “มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่สินทรัพย์จะมีการแลกเปลี่ยนหรือหนี้สินจะมีการจ่ายชำระระหว่างคู่สัญญาที่มีความรอบรู้และเต็มใจในการทำรายการทางการค้าปกติ”

  22. การวัดมูลค่า Fair value accounting (ต่อ) • Intended objective is to provide more relevant information to the users of financial statements • Information at fair value is more relevant than information at historical cost • Information at fair value is also more subjective than information at historical cost

  23. การวัดมูลค่า มูลค่ายุติธรรม - active market • ราคาที่เผยแพร่อยู่ในตลาดที่มีการซื้อขายคล่อง (published price quotation in an active market) ถือเป็นราคาหลักฐานที่ดีที่สุดของมูลค่ายุติธรรม และจะต้องนำมาใช้ในการวัดมูลค่า

  24. การวัดมูลค่ามูลค่ายุติธรรม - inactive markets • หากไม่มีราคาเสนอซื้อ (bid price) หรือราคาเสนอขาย (offer price) ที่เป็นปัจจุบัน - ราคาล่าสุดที่มีการซื้อขายถือเป็นหลักฐานที่ดีของมูลค่ายุติธรรม • หากตลาดสำหรับตราสารทางการเงินไม่ใช่ตลาดซื้อขายคล่อง - กำหนดมูลค่ายุติธรรมโดยใช้เทคนิคการประเมิน (valuation technique) เช่น • ราคาล่าสุดที่มีการซื้อ/ขายระหว่างบุคคลที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน • มูลค่ายุติธรรมของตราสารอื่นที่มีลักษณะเหมือนกับตราสารที่กิจการต้องการหามูลค่า • วิธีการคิดลดกระแสเงินสด (Discounted cash flow analysis) • วิธีการหามูลค่า Option(Option Pricing Model) • Valuation technique ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายระหว่างผู้เล่นในตลาดดังกล่าว ซึ่งได้มีการพิสูจน์แล้วว่าเป็น technique ที่ใช้ราคาที่เชื่อถือได้โดยมีการซื้อ/ขายกันจริงในอนาคต

  25. การวัดมูลค่ามูลค่ายุติธรรม - inactive markets (ต่อ) • เทคนิคการประเมินมูลค่าต้อง: • รวมปัจจัยทั้งหมดที่ผู้เล่นในตลาดจะพิจารณาในการกำหนดราคาและ • สอดคล้องกับวิธีการทางเศรษฐศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับว่าเหมาะสมในการใช้กำหนดราคาตราสารทางการเงิน

  26. การวัดมูลค่า มูลค่ายุติธรรม - ปัจจัยประกอบการใช้Valuation technique • IAS 39 ไม่ได้กำหนดเทคนิคการประเมินมูลค่าเป็นการเฉพาะ • ใช้กันทั่วไปโดยผู้เล่นในตลาด • ใช้ข้อมูลจากตลาดให้มากที่สุดและใช้ข้อมูลของตนเองให้น้อยที่สุด • รวมปัจจัยทั้งหมดที่ผู้เล่นในตลาดจะใช้ในการกำหนดราคา • เป็นเทคนิคที่คาดการณ์ได้ว่าจะกำหนดราคาได้เป็นจริง • มีการทดสอบความถูกต้องเป็นประจำ

  27. การเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภท • ต้องไม่เปลี่ยนการจัดประเภทตราสารทางการเงินเข้าหรือออกจากประเภทที่แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านงบกำไรขาดทุน (FVPL) • โอนเปลี่ยนประเภทจาก AFS เป็น HTM • ณ วันที่เปลี่ยนประเภทการจัดรายการใหม่ต้องมีการวัดมูลค่าสินทรัพย์ทางการเงินนั้นด้วยมูลค่ายุติธรรม และใช้มูลค่าดังกล่าวเป็นราคาทุนตัดจำหน่ายใหม่ ในกรณีที่สินทรัพย์ทางการเงินนั้นมีวันครบกำหนดแน่นอน กำไรหรือขาดทุนจะต้องถูกตัดจำหน่ายไปยังงบกำไรขาดทุนตามระยะเวลาที่เหลืออยู่ โดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

  28. การเปลี่ยนแปลงการจัดประเภท (ต่อ) • โอนเปลี่ยนประเภทจาก HTM เป็น AFS • วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม โดยส่วนต่างระหว่างมูลค่าที่แสดงในบัญชีและมูลค่ายุติธรรมให้รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นจนกว่าจะขายสินทรัพย์นั้นออกไป สำหรับรายการด้อยค่าและกำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนให้รับรู้ในงบกำไรขาดทุนทันทีที่เกิดรายการ • ถ้ากิจการขายหรือโอนเปลี่ยนประเภทสินทรัพย์ที่จัดประเภทเป็น held to maturity ก่อนครบกำหนดโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรตามที่มาตรฐานกำหนดไว้ ห้ามกิจการจัดสินทรัพย์ทางการเงินเป็นประเภท held to maturity สำหรับงวดปีบัญชีปัจจุบันและอีก 2 งวดปีบัญชีถัดไป

  29. การด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน

  30. การพิจารณาการด้อยค่า • สินทรัพย์ทางการเงินจะด้อยค่าเมื่อ: • มีหลักฐานที่ชัดเจนของการด้อยค่า • มูลค่าตามบัญชี > มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคต • ต้องประเมินว่ามีหลักฐานที่ชัดเจนในการด้อยค่าหรือไม่ทุกวันที่ในงบดุล • รับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำไรขาดทุน • ไม่มีค่าเผื่อทั่วไป (General provision)

  31. การด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินประเภทเผื่อขายการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินประเภทเผื่อขาย • หลักฐานที่บ่งชี้ถึงการด้อยค่าของตราสารทุน • มูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนนั้นลดลงจนมีมูลค่าต่ำกว่าราคาทุนอย่างมีสาระ สำคัญหรืออย่างต่อเนื่อง • ถ้ามีผลขาดทุนจากการด้อยค่าของตราสารทุนต้องบันทึก - ไม่ใช้แนวคิดเรื่อง “ temporary ” • ไม่อนุญาตให้มีการกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าของตราสารทุนที่ถูกจัดประเภทเป็นเผื่อขาย ซึ่งได้รับรู้ไปยังงบกำไรขาดทุนแล้ว • สามารถโอนกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าของตราสารหนี้ได้เมื่อจำนวนที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้น และการเพิ่มขึ้นดังกล่าวเกี่ยวข้องโดยมีหลักฐานอย่างแน่ชัดกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังที่ได้รับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าแล้ว

  32. ปัญหาที่พบในทางปฏิบัติ – การด้อยค่าของตราสารประเภท AFS • การแยกความแตกต่างระหว่างการด้อยค่ากับผลของการลดลงของราคาตลาด • การลดลงของราคาตลาดจนต่ำกว่าราคาทุนไม่เป็นข้อสรุปว่ามีการด้อยค่าเกิดขึ้น • ควรพิจารณาปัจจัยอื่น เช่น ผลการดำเนินงานลดลง กระแสเงินสด สินทรัพย์สุทธิ อันดับความน่าเชื่อถือของกิจการที่ไปลงทุน เทียบกับวันแรกที่ได้สินทรัพย์ ประกอบการพิจารณาด้อยค่า • พิจารณาช่วงระยะเวลาที่ราคาตลาดต่ำกว่าราคาทุน

  33. ปัญหาที่พบในทางปฏิบัติ – การด้อยค่าของตราสารประเภท AFS(ต่อ) • พิจารณาสาเหตุที่ทำให้มูลค่าของตราสารหนี้ประเภท AFS ลดลง • อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น - ไม่ใช่ข้อบ่งชี้การด้อยค่า • ปัญหาด้านเครดิต(ความน่าเชื่อถือหรือสถานะของกิจการลดลง) - เป็น ข้อบ่งชี้การด้อยค่า • ต้องใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาข้อบ่งชี้การด้อยค่า เช่นราคาของ ตราสารทุนที่ลดลงอย่างเป็นสาระสำคัญหรืออย่างต่อเนื่อง ไม่มีข้อกำหนด ที่ชัดเจนไว้ในมาตรฐาน

  34. การตัดรายการตราสารทางการเงินออกจากบัญชี (Derecognition)

  35. การตัดรายการสินทรัพย์ทางการเงินออกจากบัญชี (Derecognitionof financial assets) ตัดรายการสินทรัพย์เมื่อกิจการสูญเสียการควบคุมของสิทธิตามสัญญา สูญเสียการควบคุม • ตัดสินทรัพย์จากงบดุล • รับรู้กำไรหรือขาดทุนจากการขายในงบกำไรขาดทุน ยังคงมีการควบคุม • บันทึกรายการเป็นเงินกู้ยืมโดยมีหลักประกัน

  36. ยังคงมีการควบคุม การขายสินทรัพย์โดยจะได้รับผลตอบแทนทั้งหมดที่เหลือด้วย สิทธิในการซื้อสินทรัพย์กลับคืน ยกเว้นซื้อกลับคืนในมูลค่ายุติธรรม กิจการยังคงมีความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีสาระสำคัญในสินทรัพย์อยู่

  37. การตัดรายการสินทรัพย์ทางการเงินออกจากบัญชี (ต่อ) รวมบริษัทย่อยทั้งหมด (รวม SPE) พิจารณาว่าการตัดรายการนั้นนำมาใช้กับบางส่วนของสินทรัพย์หรือ กับสินทรัพย์ทั้งจำนวน ขั้นตอนการพิจารณาตัดหรือคงรายการสินทรัพย์

  38. การตัดรายการสินทรัพย์ทางการเงินออกจากบัญชี (ต่อ) ใช่ ตัดรายการสินทรัพย์ สิทธิที่จะได้รับกระแสเงินสดของสินทรัพย์นั้นหมดไปหรือไม่ ไม่ใช่ กิจการโอนสิทธิการรับกระแสเงินสดจากสินทรัพย์นั้นหรือไม่ ไม่ใช่ ไม่ใช่ คงสินทรัพย์ต่อไป กิจการมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายกระแสเงินสดนั้นให้กับผู้รับตามข้อตกลงหรือไม่ ใช่ ใช่ ใช่ ตัดรายการสินทรัพย์ กิจการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีสาระสำคัญในสินทรัพย์แล้วหรือไม่ ไม่ใช่ ใช่ คงสินทรัพย์ต่อไป กิจการยังคงมีความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีสาระสำคัญในสินทรัพย์อยู่หรือไม่ ไม่ใช่ ไม่ใช่ ตัดรายการสินทรัพย์ กิจการยังมีอำนาจในการควบคุมสินทรัพย์อยู่หรือไม่ ใช่ คงสินทรัพย์สำหรับส่วนที่กิจการมีความเกี่ยวเนื่องต่อไป

  39. การตัดรายการสินทรัพย์ทางการเงินออกจากบัญชี (ต่อ) คงสินทรัพย์สำหรับส่วนที่กิจการมีความเกี่ยวข้องต่อไป • ถ้าผู้โอนยังมีการควบคุมอยู่ให้รับรู้สินทรัพย์เท่ากับขอบเขตของความเกี่ยวพันที่ต่อเนื่อง เช่น • จำนวนของการค้ำประกันหรือจำนวนยอดคงเหลือที่ต่ำกว่า

  40. การตัดรายการสินทรัพย์ทางการเงินออกจากบัญชี (ต่อ)

  41. การตัดรายการหนี้สินทางการเงินออกจากบัญชี (Derecognitionof financial liabilities) ตัดรายการหนี้สินทางการเงินเมื่อหนี้สินสิ้นสุดลง (ข้อผูกพันสิ้นสุดยกเลิก หรือหมดอายุ) • เมื่อจ่ายเงินหรือสินทรัพย์ทางการเงินอื่น หรือ • เป็นไปตามกระบวนการตามกฎหมาย

  42. ตราสารอนุพันธ์ (Derivatives)

  43. ตราสารอนุพันธ์คำจำกัดความตราสารอนุพันธ์คำจำกัดความ ตราสารอนุพันธ์ หมายถึง ตราสารการเงินที่มีลักษณะทุกข้อต่อไปนี้ • มูลค่าจะเปลี่ยนแปลงตามการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่ระบุไว้ในสัญญา เช่น อัตราดอกเบี้ย ราคาหลักทรัพย์ ราคาโภคภัณฑ์ อัตราแลกเปลี่ยน ดัชนีราคา • ผู้ลงทุนไม่จำเป็นต้องจ่ายเงินลงทุนสุทธิเมื่อเริ่มแรกหรือ จ่ายเงินด้วยจำนวนเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับสัญญาประเภทอื่น • การรับหรือจ่ายชำระเงิน จะกระทำในอนาคต ตัวอย่างของตราสารอนุพันธ์ เช่น • Forward • Swap • Option

  44. ตราสารอนุพันธ์Examples that show the underlying and notional amount

  45. ตราสารอนุพันธ์การบันทึกบัญชีตราสารอนุพันธ์การบันทึกบัญชี • แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมและรับรู้ส่วนเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมเข้างบกำไรขาดทุน (FVPL) ยกเว้น กรณีใช้การบัญชีเพื่อการป้องกันความเสี่ยง การรับรู้เมื่อเริ่มแรก (Initial measurement) • โดยทั่วไปมูลค่ายุติธรรม ณ วันเริ่มแรกของตราสารอนุพันธ์จะเท่ากับศูนย์ • สำหรับ option มูลค่ายุติธรรม ณ วันเริ่มแรกจะเท่ากับจำนวนเงินที่จ่ายซื้อหรือที่ได้รับชำระจากการทำสัญญา option

  46. ตราสารอนุพันธ์การบันทึกบัญชี และวัดมูลค่าในภายหลัง (Subsequent Measurement) • วัดมูลค่าโดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ในงบดุล • บันทึกการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมในงบกำไรขาดทุนทุกกรณี เว้นแต่มีการใช้การบัญชีเพื่อการป้องกันความเสี่ยง

  47. ตราสารทางการเงินแบบผสม(Hybrid or combined instruments)

  48. ตราสารทางการเงินแบบผสมคำจำกัดความตราสารทางการเงินแบบผสมคำจำกัดความ องค์ประกอบของตราสารทางการเงินแบบผสม ประกอบด้วย ตราสารอนุพันธ์ (Derivative) และสัญญาหลัก (Host contract) ซึ่งผลตอบแทนบางส่วนหรือทั้งหมดของกระแสเงินสดตามสัญญาหลักจะถูกเปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหวของตัวแปรที่อ้างอิงในตราสารอนุพันธ์ อนุพันธ์แฝง (Embedded Derivative) ตราสารแบบผสม (Hybrid Instrument) สัญญาหลัก (Host)

  49. ตราสารทางการเงินแบบผสมตัวอย่างของสัญญาหลักตราสารทางการเงินแบบผสมตัวอย่างของสัญญาหลัก • สินทรัพย์ทางการเงิน • เงินลงทุน • เงินให้สินเชื่อ • หนี้สินทางการเงิน • เงินฝาก • ตราสารหนี้ • ตราสารทุน • หุ้นทุน

  50. ตราสารทางการเงินแบบผสมรายการที่ไม่จัดเป็นอนุพันธ์แฝงตราสารทางการเงินแบบผสมรายการที่ไม่จัดเป็นอนุพันธ์แฝง • ตราสารอนุพันธ์ที่สามารถแยกได้อย่างเป็นอิสระจากตราสารการเงินนั้น • ตราสารอนุพันธ์ที่มีคู่สัญญาเป็นคนละฝ่ายกับคู่สัญญาของตราสารการเงินนั้น • ตราสารอนุพันธ์ที่แฝงในตราสารอนุพันธ์อื่น โดยปกติอนุพันธ์แฝงมักจะซ่อนอยู่ในสัญญาหลักและยากที่จะระบุได้

More Related