1 / 58

ศูนย์ประสาน การพัฒนาจังหวัดกับภารกิจการปฏิรูปภาคประชาชน*

ศูนย์ประสาน การพัฒนาจังหวัดกับภารกิจการปฏิรูปภาคประชาชน*. ประเด็นหารือที่ประชุมเชิงปฏิบัติการ TD Forum ภูมิภาค. ปฏิสัมพันธ์ของพลังในสังคม กับการเปลี่ยนผ่านประเทศ. พลเมืองผู้ตื่นรู้ (active citizen) 2 , 000 , 000. เครือข่ายเวทีปฏิรูปภาคประชาสังคม (change agent) 20,000. ครม. 36.

Download Presentation

ศูนย์ประสาน การพัฒนาจังหวัดกับภารกิจการปฏิรูปภาคประชาชน*

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศูนย์ประสาน การพัฒนาจังหวัดกับภารกิจการปฏิรูปภาคประชาชน* ประเด็นหารือที่ประชุมเชิงปฏิบัติการ TDForum ภูมิภาค

  2. ปฏิสัมพันธ์ของพลังในสังคม กับการเปลี่ยนผ่านประเทศ พลเมืองผู้ตื่นรู้ (active citizen) 2,000,000 เครือข่ายเวทีปฏิรูปภาคประชาสังคม (change agent) 20,000 ครม. 36 คสช. 15 สนช. 220 สปช. 250 ประชาชนทั่วไปที่รับรู้ข้อมูลข่าวสาร20,000,000 กมธ. 36

  3. ยุทธวิธีการทำงาน 70 30 50 50 50

  4. ร่างกฎหมายอื่น ร่างรัฐธรรมนูญ เวทีรับฟังความเห็นประชาชน สปช.จว. 77 จังหวัด เวทีกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ

  5. กรอบประเด็นการปฏิรูปตาม รธน. (ชั่วคราว) 2557 กรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ(ม.35) • ราชอาณาจักรหนึ่งเดียว • ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ • กลไกป้องกันตรวจสอบทุจริต • ป้องกันคนไม่ดีเข้าดำรงตำแหน่ง • ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงำ • นิติธรรม คุณธรรมจริยธรรม ธรรมาภิบาล • โครงสร้างเศรษฐกิจสังคมที่เป็นธรรม • การใช้จ่ายเงินภาครัฐคุ้มค่า • ป้องกันการทำลายรัฐธรรมนูญ • กลไกผลักดันการปฏิรูปให้สมบูรณ์ สภาปฏิรูปแห่งชาติ (ม.27) • การเมือง • การบริหารราชการแผ่นดิน • กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม • การปกครองท้องถิ่น • การศึกษา • เศรษฐกิจ • พลังงาน • สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม • สื่อสารมวลชน • สังคม • อื่นๆ

  6. กรรมาธิการฯ จัดทำร่าง รธน. โดยพิจารณาข้อเสนอของสภาปฏิรูปฯ ประกอบ กรรมาธิการฯ เสนอร่างที่ยกร่างแล้วเสร็จ ต่อสภาปฏิรูปฯ ครม. และ คสช. เพื่อพิจารณา 120 วัน สภาปฏิรูปฯ ครม.และ คสช. พิจารณาร่าง รธน. และส่งคำขอแก้ไขเพิ่มเติมกลับไปยังกรรมาธิการ 40 วัน กรรมาธิการฯ พิจารณาคำขอแก้ไขเพิ่มเติมแล้วเสนอร่างต่อสภาปฏิรูปฯ 60 วัน สภาปฏิรูปฯ ลงมติเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบทั้งฉบับ

  7. กรอบเวลาร่างรัฐธรรมนูญใหม่กรอบเวลาร่างรัฐธรรมนูญใหม่ • 19 ธันวาคม 2557 - สปช.ให้ความเห็นเสนอแนะแก่ กมธ. • 17 เมษายน 2557 - กมธ.ยกร่าง รธน.(1) • 26 เมษายน 2558 - สปช.ให้ความเห็นเสนอแนะต่อร่าง (1) • 23 กรกฎาคม 2558 - กมธ.ปรับปรุงแก้ไขเสร็จเป็นร่าง (2) • 6 สิงหาคม 2558 - สปช.พิจารณาร่าง รธน.ทั้งฉบับ เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ • 4 กันยายน 2558 - ทูลเกล้าฯรธน.ใหม่

  8. กระบวนการทำงานของ สปช. และ กมธ.ประเด็นอื่นๆ

  9. คณะกรรมาธิการ สปช. • การเมือง • ระบบราชการ • กฎหมาย/ยุติธรรม • ปกครองท้องถิ่น • การศึกษา • เศรษฐกิจ • เกษตร อุตสาหกรรม พาณิชย์ • พลังงาน • สาธารณสุข • ทรัพยากร • สื่อ/ไอที • สังคม • แรงงาน ป้องกัน/ปราบปรามทุจริต ค่านิยม ศิลปวัฒนธรรม การกีฬา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย คุ้มครองผู้บริโภค ติดตามยกร่าง รธน. จัดทำวิสัยทัศน์ ออกแบบประเทศไทย มีส่วนร่วมและรับฟังความเห็น ประชาสัมพันธ์ จัดทำจดหมายเหตุ

  10. การผลักดันร่างกฎหมายผ่านรัฐบาล/สนช.การผลักดันร่างกฎหมายผ่านรัฐบาล/สนช. ลำดับความสำคัญของกฎหมายตามนโยบายรัฐบาล • กม.ที่อนุมัติหรืออนุวัตรไปตามข้อตกลงระหว่างประเทศ • กม.ที่เป็นไปเพื่อแก้ความเหลื่อมล้ำทางสังคม • กม.ที่เอื้อการปฏิรูปประเทศ • กม.ที่จะต้องแก้ไขปัญหาส่วนราชการ

  11. พ.ร.บ.จุดคานงัดที่ TDF ตั้งเป้าหมายผ่านสนช. ภายใน 1 ปี • (ร่าง) พ.ร.บ.ว่าด้วยสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและทรัพยากร • (ร่าง) พ.ร.บ.ธนาคารที่ดิน • (ร่าง) พ.ร.บ.การบริหารจังหวัดปกครองตนเอง • พ.ร.บ.การงบประมาณ เพิ่มงบพื้นที่แก้ความเหลื่อมล้ำ • (ร่าง) พ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการป้องกันทุจริต • (ร่าง) พ.ร.บ.องค์กรอิสระด้านการคุ้มครองผู้บริโภค • พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ • พ.ร.บ.การแข่งขันทางการค้า • (ร่าง) พ.ร.บ.คุ้มครองเกษตรกรและรายได้เกษตรกรพันธะสัญญา • พ.ร.บ.ประกันสังคม • (ร่าง) พ.ร.บ.ปฏิรูปสลากกินแบ่งรัฐบาล • (ร่าง) พ.ร.บ.ปฏิรูปตำรวจและกระบวนการยุติธรรมชั้นต้น • พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ • พ.ร.บ.การปิโตรเลียม • (ร่าง) พ.ร.บ.สนับสนุนพลังงานหมุนเวียน • (ร่าง) พ.ร.บ.กองทุนสื่อสร้างสรรค์ • (ร่าง) พ.ร.บ.กองทุนยุติธรรม • (ร่าง) พ.ร.บ.การโฆษณาประชาสัมพันธ์ภาครัฐ • พ.ร.บ.การเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม • (ร่าง) พ.ร.บ.การตลาดปัจจัยการผลิตและสินค้าเกษตร

  12. ประเทศไทย ที่พัฒนาอย่างสมดุล เศรษฐกิจ การเมือง สังคม คน 1. ภาคีพัฒนาประเทศไทย (ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม) 2. วิสัยทัศน์ใหม่ ประเทศไทย วิกฤติ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม 3. ผู้นำรุ่นใหม่ – 100 projects เปลี่ยนประเทศไทย (1,000 คน) 4. ค่านิยมใหม่ – ซื่อสัตย์ มีวินัย คิดต่าง มุ่งส่วนรวม – active citizen (1 ล้านคน) InspiringThailand • แรงบันดาลใจ เพื่อประเทศไทยในมิติใหม่

  13. Thais’ DreamThailand 2035 ฝันยิ่งใหญ่ของคนไทย เป้าหมาย วิสัยทัศน์ ค่านิยมหลัก

  14. หนึ่งศตวรรษ อภิวัฒน์ประเทศไทยวาระโอกาสสำคัญ 100 ปีการเปลี่ยนแปลง • 80 ปีการอภิวัฒน์ประเทศไทย ระบบการเมืองการปกครองของไทยได้ผ่านประสบการณ์จริงในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขมาอย่างโชกโชน • ระบอบการปกครองที่คณะผู้ก่อการปฏิวัติสยามได้ตัดสินใจเลือกและมุ่งมั่นวางรากฐานมาตั้งแต่ต้น จะยังคงดำรงอยู่ด้วยความมั่นคงและเจริญรุ่งเรืองเหมือนระบอบของอังกฤษ600ปีและระบอบของเดนมาร์ก165ปีในปัจจุบันหรือไม่ • คำถามที่มีต่อคนไทยในวันนี้ก็คือ จากนี้ไปอีกประมาณ 20 ปี เมื่อครบวาระ100 ปีของการปฏิวัติสยาม ประเทศไทยของเราจะเดินทางไปสู่สถานีที่เป็นจุดหมายปลายทางใด • ความใฝ่ฝันอันงดงามที่ผู้นำการเปลี่ยนแปลงริเริ่มและบุกเบิกไว้เมื่อ 80 ปีก่อน เราจะสามารถส่งต่อให้กับคนรุ่นลูกรุ่นหลานได้ในสภาพเช่นไร

  15. เสือเศรษฐกิจเอเชีย ผู้พลัดตกไปอยู่เบื้องหลัง • สี่เสือเศรษฐกิจแห่งเอเชีย (Four Asian Tigers) มักใช้อ้างถึงเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างรวดเร็วของฮ่องกง สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และ ไต้หวัน เนื่องจากมีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง (มากกว่า 7% ต่อปี) และมีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วระหว่าง พ.ศ. 2503 – 2533 ประเทศเศรษฐกิจที่ก้าวหน้าและประชากรมีรายได้สูง • ประเทศไทยในช่วง ปี 2531-2554 พบว่า ภายใต้เศรษฐกิจที่สามารถขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องในอัตราที่น่าพึงพอใจ คือเฉลี่ยประมาณ 5.3% ส่งผลให้จำนวนคนจนทั้งประเทศลดลงอย่างรวดเร็ว จาก 34.1 ล้านคน เหลือเพียง 8.8 ล้านคน และสัดส่วนคนจนด้านรายได้ทั้งประเทศลดลง จาก 65.3% เหลือเพียง 13.2% • แต่ประเทศไทยยังคงติดกับดักกลุ่มประเทศรายได้ปานกลางมาสามสิบปีแล้ว การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ตกไปอยู่ในลำดับท้ายๆ ของอาเซียน • วิกฤติด้านต่างๆ ที่ถาโถมเข้าใส่สังคมไทยเป็นระลอก จากวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 สู่วิกฤตการเมืองตั้งแต่ปี 2548 เรื่อยมา รวมทั้งพิบัติภัยธรรมชาติที่ซ้ำเติมทุกปี เหล่านี้ส่งผลทำให้คนไทย”จิตตก” มีความหดหู่ ไม่มั่นใจในอนาคต ต้องพึ่งพาจิตแพทย์ หมอดูและไสยศาสตร์เพิ่มขึ้น

  16. ภาพรวมสถานการณ์ 50 ปีที่ผ่านมา • ในช่วงแผนพัฒนาประเทศฉบับที่ 1-7 (2504-2539) สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสรุปบทเรียนไว้ว่า • “เศรษฐกิจก้าวหน้า สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน” • ช่วงแผนพัฒนาประเทศฉบับที่ 8-11 (2540-2559) อาจสรุปเป็นภาพรวมได้ดังนี้ • “เศรษฐกิจติดกับดัก สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม • สังคมเหลื่อมล้ำ-เรียนรู้ ราชการอ่อนล้า-รวมศูนย์ • การเมืองแตกแยก-วิกฤติ ทุจริตฝังราก-เบ่งบาน ”

  17. มองย้อนหลังกึ่งศตวรรษกับวิสัยทัศน์ 20 ปีข้างหน้า วิสัยทัศน์ 2035 หนึ่งศตวรรษ อภิวัฒน์ประเทศไทย

  18. ภาพรวมวิสัยทัศน์ 2035 ภายใต้จุดหมายปลายทางร่วม “สังคมไทยเป็นสังคมที่ดีงามและอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน”

  19. วิสัยทัศน์ด้านเศรษฐกิจ “ประเทศไทยเป็นประเทศกลุ่มรายได้สูงของโลก ไม่มีปัญหาคนยากจน เมืองกับชนบทไม่แตกต่างมาก หนี้สินไม่เป็นปัญหา ทั้งในระดับประเทศและในระดับครัวเรือน”

  20. นโยบายกระตุ้นความเจริญควบคู่กระจายรายได้นโยบายกระตุ้นความเจริญควบคู่กระจายรายได้ • นโยบายที่จะช่วยให้การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น เป็นการเติบโตอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียม เป็นธรรม โดยทุกคนสามารถเข้าร่วมเป็นหนึ่งในกระบวนการดังกล่าว (Inclusive growth) • ประกอบด้วยกรอบนโยบายสำคัญ 3 ด้านที่จะทำงานสอดรับกันอย่างเป็นระบบคือ • การให้โอกาสที่มากขึ้นแก่คนชั้นกลาง-ล่างที่เป็นฐานของปิรามิดรายได้ • การดูแลที่ยอดปิรามิดรายได้ไม่ให้ฉกฉวยประโยชน์มากจนเกินไป • การสร้างระบบสวัสดิการพื้นฐานที่จำเป็นและช่วยครัวเรือนในกลุ่มที่มีปัญหาเป็นรายกรณี

  21. วิสัยทัศน์ด้านสังคม “สังคมไทยโดยทั่วไปมีความเหลื่อมล้ำลดลง ทั้งในมิติด้านรายได้และรายจ่าย มีระบบสวัสดิการสังคมที่หลากหลาย โดยสามารถวัดและรู้สึกได้ รวมทั้งมีระบบดูแลสังคมผู้สูงอายุและระบบระเบียบในการรองรับแรงงานต่างชาติอย่างเป็นธรรม”

  22. พื้นที่ป่าเขา จ.เลย อดีต ปัจจุบัน อนาคต

  23. แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ พ.ศ.2553-2573 (PDP 20ปี) กำหนดเป้าหมายกำลังผลิตไฟฟ้าสำรองไว้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 15 โดยลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติและเพิ่มแหล่งเชื้อเพลิงอื่นให้มีความหลากหลายมากขึ้น โดยในปี 2573 กำหนดสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานต่างๆดังนี้ พลังงานหมุนเวียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5 พลังงานนิวเคลียร์ไม่เกินร้อยละ 10 ซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านไม่เกินร้อยละ 25 และพลังงานจากถ่านหินเท่าที่จำเป็นและสนับสนุนถ่านหินสะอาด ข้อมูลจากกลุ่มปฏิรูปพลังงานเพื่อความยั่งยืนระบุว่า ปริมาณสำรองปิโตรเลียมของไทยมีไม่มาก ถ้าคิดเฉพาะปริมาณสำรองที่พิสูจน์แล้ว (proved-p1) จะใช้หมดภายใน 11 ปี แต่ถ้ารวมปริมาณสำรองที่คิดว่าจะ มี (probable-p2 ) และที่น่าจะพบได้อีก (possible-p3) ด้วย ก็จะมีให้ใช้ได้เพียง 30 ปีเท่านั้น

  24. วิสัยทัศน์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม พลังงาน “ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าในสัดส่วนร้อยละ 37 โดยสามารถฟื้นฟูและรักษาคุณภาพความอุดมสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรดิน-น้ำ-ป่าได้อย่างสมดุล สังคมไทยพบทางออกที่สร้างสรรค์ เป็นธรรมและถูกหลักวิชาการ ในการจัดการปัญหาความขัดแย้งด้านพลังงานและคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน”

  25. จำนวนผู้ต้องขังมีสูงร่วม 3 แสนคน ทำให้ปัญหาในเรือนจำที่เป็นอันดับแรกและมีการกล่าวถึงมากที่สุดคือ ปัญหาคนล้นคุก หากคำนวณจากพื้นที่เรือนจำทั่วประเทศจำนวน 145 แห่ง ตามความจุดมาตรฐานนักโทษ 1 คน ต่อพื้นที่ 2.25 ตารางเมตร จะคิดเป็นความจุเพียง 109,087 คนเท่านั้น ดังนั้น จากตัวเลขปี 2556 เรือนจำของไทยจึงมีผู้ต้องขังเกินกว่าความจุมาตรฐานสูงถึง 119,726 คน

  26. แม่วัยทีน สถานการณ์ล่าสุดปี 2555 พบการเกิดจากทุกกลุ่มอายุมารดา 801,737 คน ในจำนวนนี้เป็นมารดาอายุต่ำกว่า 20ปี จำนวน 133,027 คน คิดเป็นร้อยละ 16.59 ซึ่งในจำนวนนี้ประกอบไปด้วย กลุ่มมารดาอายุ 15-19ปี 129,320 คน (ร้อยละ 97.21) นอกนั้นเป็นกลุ่มมารดาอายุต่ำกว่า 20ปี และ ต่ำกว่า 15ปี จำนวน 3,707คน (ร้อยละ 2.79)

  27. วิสัยทัศน์ด้านคุณธรรมจริยธรรม “สังคมไทยประสบความสำเร็จในการปฏิรูประบบการศึกษาและฟื้นฟูระบบคุณธรรมจริยธรรม โดยความร่วมมือร่วมใจกันของเครือข่ายชุมชนท้องถิ่นและภาคประชาสังคมทั่วประเทศ จนสามารถสถาปนาองค์กรและหน่วยงานที่มีมาตรฐานธรรมาภิบาลที่หลากหลาย ในทุกวงการ ทุกภาคส่วน ทุกจังหวัด-อำเภอทั่วประเทศ”

  28. องค์กรปกครองท้องถิ่นกับคอร์รัปชั่นองค์กรปกครองท้องถิ่นกับคอร์รัปชั่น จำนวนองค์กรปกครองท้องถิ่นทั่วประเทศในปัจจุบัน รวมทั้งสิ้น 7,853 แห่ง ปี 2556 ปปช.แถลงว่า มีคดีคอร์รัปชั่น 2,632 คดี ในขณะที่หน่วยงานส่วนกลางและภูมิภาค หลักๆ มีประมาณ 300 หน่วยงาน มีคดีคอร์รัปชั่น 3,657 คดี

  29. วิสัยทัศน์ด้านการเมืองการปกครอง • “ ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการปฏิรูประบบการเมืองการปกครองครั้งใหญ่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน สามารถปรับเปลี่ยนบทบาทและอำนาจหน้าที่จนเกิดความสมดุลระหว่างระบบราชการส่วนกลางและท้องถิ่น ระบบการเมืองระดับชาติเกิดความลงตัวในมิติใหม่ โดยมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอำนาจทางการเมืองและระบบตรวจสอบถ่วงดุลทั้งระบบอย่างมีประสิทธิภาพ ดัชนีความโปร่งใสเกิน 5.5 จนได้รับการยอมรับเป็นกรณีศึกษาสำหรับกลุ่มประเทศภูมิภาคอาเซียน

  30. การชุมนุมใหญ่ทางการเมืองเพื่อต่อต้านรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดปัญหาเสถียรภาพทางสังคมและทางการเมืองอย่างหนึ่ง ข้อมูลจากวิกิพีเดียระบุว่า จำนวนครั้งการชุมนุมใหญ่ทางการเมืองที่ตามมาด้วยความรุนแรง ระหว่างปี 2520-2530 มี 4 ครั้ง ระหว่าง ปี2531-2540 มี 1 ครั้ง, ระหว่างปี 2541-2550 มี 1 ครั้ง และ ระหว่างปี 2551-2557 มี 8 ครั้ง รัฐที่ล้มเหลว คือ รัฐที่มีรัฐบาลกลางอ่อนแอหรือไม่มีประสิทธิภาพในการควบคุมดินแดน นอกจากนี้ยังสามารถอธิบายได้ในบริบทของการไร้ประสิทธิภาพ และไม่สามารถบังคับใช้กฎหมายตามระบบที่ควรจะเป็น อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของอาชญากรรม การทุจริตของนักการเมือง ตลาดมืด ระบบราชการที่ล้มเหลว กระบวนการยุติธรรมที่ไร้ประสิทธิภาพ เป็นต้น

  31. วิสัยทัศน์ด้านความมั่นคงของประเทศ “ประเทศไทยประสบความสำเร็จในด้านการปฏิรูปตำรวจและกระบวนการยุติธรรมขั้นต้นทั้งระบบในช่วงเปลี่ยนผ่าน โดยความร่วมมือของสังคมทุกภาคส่วน จนสามารถดูแลปัญหาความมั่นคงภายในประเทศในทุกมิติ รวมทั้งปัญหาความมั่นคงของมนุษย์ และสามารถแก้ปัญหาชายแดนใต้ได้อย่างยั่งยืน”

  32. มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด “ฉากทรรศน์สังคมไทยพ.ศ.2576” สังคมไทยกำลังเผชิญการเปลี่ยนแปลงหลายมิติ • การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย • ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างสองขั้ว • การเติบโตของเศรษฐกิจท่องเที่ยว • การกลายเป็นเมืองมากขึ้น • การเติบโตของเศรษฐกิจในภาคอีสาน(อีสานโต40%,กทม.17%) • การปรับตัวเข้ากับโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยี อาเซียน สิ่งแวดล้อม

  33. มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด “ฉากทรรศน์ซิมโฟนีปี่พาทย์” • ประชากรไทยมีรายได้สูงขึ้นจากโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ • รัฐยังเป็นศูนย์กลางพัฒนา งบส่วนกลางและขรก.รุ่นใหม่เพิ่ม • วิถีชีวิตที่แตกต่างทางเศรษฐกิจ ชนชั้นนำมีขีดความสามารถ • ค่าเฉลี่ยขนาดครอบครัวเล็กลงเหลือ 2.5 • หลากหลายทางชาติพันธุ์มากขึ้น แรงงานต่างด้าวกว่า 6 ล้านคน • ยานยนต์ภิวัฒน์ ราคาถูก • เทคโนโลยีสารสนเทศราคาถูกลง ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ90ล้านคน

More Related