900 likes | 1.22k Views
Organizing Data and information. การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ. 321350:Information System Concept. Organizing Data and information. การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ. น.ส.ธัญญ์ฐิตา สว่างงามวงศ์ 51630329 น.ส.ปิยนันท์ โกวิทรัตนกรกุล 51630480 นายพรประสิทธิ์ นิตยวรรณ 51630527
E N D
Organizing Data and information การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 321350:Information System Concept
Organizing Data and information การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ น.ส.ธัญญ์ฐิตา สว่างงามวงศ์ 51630329 น.ส.ปิยนันท์ โกวิทรัตนกรกุล 51630480 นายพรประสิทธิ์ นิตยวรรณ 51630527 น.ส.สุหรรษา ชูศักดิ์ 51630909 นายองอาจ เวชชสัสถ์ 51630923 น.ส.อนัสรา ปิติพืช 51630947 321350:Information System Concept
DATA MANAGEMENT นิยามการจัดการข้อมูล แนวคิดการจัดการข้อมูลเริ่มจากการบันทึกข้อมูลด้วยกระดาษ สมุดเพื่อบันทึกหรือจดจำ หากต้องการเรียกดูก็พลิกหนังสือไปยังเลขหน้าที่ได้มีการบันทึกไว้เพื่อดูรายละเอียดนั้นๆ แต่จำนวนข้อมูลมีการเพิ่มเติมขึ้นทุกวันก็ต้องมีการจัดเก็บใส่ตู้เพื่อแยกประเภทของข้อมูลก็มีการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆทั้งยังต้องเสียเวลาในการค้นหาข้อมูลเป็นเวลานาน การจัดเก็บข้อมูลในปัจจุบันจึงมีการทำข้อมูลทั้งหมดให้อยู่ในรูปแบบของ text file แล้วจัดเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ ทำให้การค้นหาข้อมูลมีความง่ายขึ้นและรวดเร็วขึ้น
Information Information Information ระบบสารสนเทศ ( Information System หรือ IS) คือ งานประยุกต์คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคมที่ทำหน้าที่รับข้อมูล (input) แล้วนำมาประมวลผล (process) ให้เป็นสารสนเทศ (information) ในรูปแบบต่างๆ ที่เป็นประโยชน์แก่การใช้งาน การใช้สารสนเทศแต่ละประเภทอย่างเหมาะสมกับแต่ละระดับการปฏิบัติงานของบุคลากร จะมีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างมาก
Data Hierarchy (Binary digit ; Bit) โดยปกติจะมีได้สองสถานะคือ บิต 1 และ บิต 0 ในหน่วยความจำหลัก 1 คือ วงจรที่มีกระแสไฟฟ้า 0 คือวงจรที่ไม่กระแสไฟ ลำดับชั้นของข้อมูล bit กลุ่มของ bit ซึ่ง 8 bits = 1 byte มารวมกันหลายๆบิตจน สามารถสร้างรหัสแทนได้ถึง 256 ตัวข้อมูล byte Charactor จำนวน byte ที่มารวมกันแล้วแปลงเป็นตัวอักขระ(ASCII)เพื่อ ให้มนุษย์เข้าใจได้ อักขระหลายๆตัวมารวมกันซึ่งโดยปกติจะเป็นข้อมูล ที่เกี่ยวกับคุณลักษณะของข้อมูล field ฟิลด์หลายๆฟิลด์มารวมกันเป็น 1 เรคคอร์ด เพื่อให้ความหมายของข้อมูลที่มากขึ้น record file เรคคอร์ดหลายๆเรคคอร์ดที่เกี่ยวข้องกันมาอยู่ด้วยกันเป็นกลุ่ม
ฐานข้อมูล (Database) คือที่อยู่ของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันหรือเปรียบได้ว่าเป็นคลังของข้อมูลก็ได้ข้อมูลเหล่านี้จะถูกจัดเก็บร่วมกันอย่างมีระบบและมีรูปแบบทำให้ง่ายต่อการประมวลผลและการจัดการ โดยปกติแล้วการใช้งานจะต้องมีโปรแกรมเพื่อจัดการฐานข้อมูลที่มีอยู่ซึ่งเรียกว่าDBMSสำหรับฐานข้อมูลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบันจะเป็นแบบ Relation ซึงจะจัดเก็บข้อมูลอยู่ในรูปของตาราง (Table) โดยที่ฐานข้อมูลในแต่ละตารางจะมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
Entity หมายถึง ชื่อของสิ่งหนึ่งสิ่งใด เปรียบเสมือคำนาม ได้แก่ บุคคล สถานที่ สิ่งของ เช่น นักศึกษา อาจารย์ ภาควิชา ฯลฯ Attribute หมายถึง รายละเอียดของข้อมูลใน Entity หนึ่ง ซึ่งเป็นข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติของ Entity เช่น Entity ของนักศึกษา ได้แก่ ชื่อ อายุ เพศ ฯลฯ Keysหมายถึง คุณสมบัติหนึ่งที่สำคัญของความสัมพันธ์ก็คือ ความเป็นเอกลักษณ์ (Uniqueness property) สิ่งที่ใช้กำหนดความเป็นเอกลักษณ์ของแถวในความสัมพันธ์
Data Modeling and Database Relational Model การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) เน้นด้านการจัดกลุ่มข้อมูลในฐานข้อมูล ให้เป็นหมวดหมู่ตารางที่เหมาะสม โดยพิจารณาความต้องการข้อมูล และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สิ่งที่ต้องคำนึง - ความเหมาะสม - ไม่ก่อให้เกิดความซ้ำซ้อน - ประเภทฐานข้อมูลที่จะสร้างขึ้น
การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) • กำหนดประเภทของข้อมูล เช่น อักขระ จำนวน วันเวลา • กำหนดสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล • พิจารณาเนื้อที่ของสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล • การออกแบบในส่วนนี้จำเป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญด้านฐานข้อมูลโดยตรง
Data Modeling Data model(แบบจำลองข้อมูล): แบบจำลองของข้อมูลและความสัมพันธ์ Entity-relationship (ER) diagrams(โมเดลจำลองความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูล): แบบจำลองข้อมูลที่นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลภายใน ฐานข้อมูล ด้วยสัญลักษณ์ต่างๆ ประกอบเป็นโครงสร้างที่สามารถเข้าใจ ง่ายขึ้น
DATA MODELING Figure : An Entity-Relationship (ER) Diagram for a Customer Order Database
2 X 2 = 5 • Data model • ใช้สำหรับอธิบายถึงโครงสร้าง และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลภายในฐานข้อมูล ในระดับแนวความคิดให้สามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น จำแนกตามชนิดของแบบจำลองได้เป็น 3 ประเภท คือ • แบบลำดับขั้น (Hierarchical Model) • แบบเครือข่าย (Network Model) • แบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Model)
แบบจำลองโครงสร้างข้อมูลลำดับขั้น (Hierarchical Model) Final Component Component B Component A Pate E Pate A Pate D Pate B Pate C Pate F Pate G
แบบจำลองโครงสร้างข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Model) SALESMAN CUSTOMER 1 : M 1 : M 1 : M PRODUCT PAYMENT INVOICE 1 : M 1 : M INV.DETAIL
Entity-relationship (ER) diagrams มีลักษณะเป็นแผนภาพ แสดงโครงสร้างของฐานข้อมูลในระดับแนวความคิด ให้ง่ายและสามารถมองเห็นภาพรวมของเอนทิตี้ทั้งหมด รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ในระบบฐานข้อมูล • Entity:วัตถุหรือสิ่งที่ต้องการเก็บข้อมูล มีเอกลัษณะในตัวเอง ทำให้เกิดความแตกต่างกันในแต่ละเอนทิตี้ เป็นต้น แบ่งเป็น 2 ประเภท • Regular Entityมี KEY ที่เป็น PRIMARY KEY และข้อมูลแต่ละแถวต้องไม่มีค่าที่ซ้ำกัน • Weak Entity ข้อมูลในแต่ละแถวอาจมีค่าซ้ำได้ แต่ PRIMARY KEY จะต้องอาศัย KEY จาก Regular Entity
Entity-Relationship (ER) diagrams • Property:คือ Attributes ของ Entity เป็นคุณ ลักษณะที่ประกอบกันเป็น Entity ใดๆ • Relationship :ความสัมพันธ์ระหว่าง Entity ใน E-R ModelRelationship ถูกแทนสัญลักษณ์ด้วยรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ( )
name address Acc_NO balace 1 1 customer Account Belong_to ประเภทความสัมพันธ์ระหว่าง Entity ความสัมพันธ์แบบ One-to-One
รหัสลูกค้า ชื่อลูกค้า เลขที่ใบเสร็จ ชื่อสินค้า 1 M ลูกค้า ใบเสร็จ มี ความสัมพันธ์แบบ One-to-Many
Tea_ID name Stu_ID name M N Teacher student Belong_to ความสัมพันธ์แบบ Many-to-Many
ตัวอย่าง : แผนภาพ E-R Diagram ระบบใบสั่งซื้อ เลขที่ใบสั่งซื้อ ชื่อลูกค้า รหัสลูกค้า ที่อยู่ รหัสลูกค้า วันที่ 1 M ลูกค้า ใบสั่งซื้อ สั่ง M เลขที่ใบสั่งซื้อ รายละเอียด รหัสสินค้า จำนวนสินค้า รหัสสินค้า N ชื่อสินค้า สินค้า หน่วย
The Relational Database Model(แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์) • Rowในแต่ละแถวของข้อมูลจะประกอบไปด้วยหลายๆ attributes ซึ่งแสดงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ Entity นั้น • Columns ของตารางจะเป็นส่วนที่แสดงคุณลักษณะของ Entity เช่น Entity ลูกค้า จะประกอบด้วย attributes รหัสลูกค้า ชื่อลูกค้า ที่อยู่ เป็นต้น ซึ่งแต่ละ attributes ก็คือ Columns นั่นเอง • Domainการกำหนดขอบเขตของค่าข้อมูลในแต่ละ attribute
The Relational Database Model(แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์) Table : Fitness Center Members Table : Dues Paid
The Relational Database Model(แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์) Relational model: แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ซึ่งถูกแบ่งและหน่วยย่อยๆ เรียกว่า Tableแบบ 2 มิติ ประกอบด้วย Attributes Attributes ลูกค้า Tuple ตัวอย่าง :ตารางข้อมูลลูกค้าขององค์กร
Basic Operation Selecting : เป็นการเรียกแถวจากความสัมพันธ์ หรือปฏิบัติการจากรีเลชั่นหนึ่งขึ้นไป ซึ่งจะได้ผลลัพธ์โดยมีจำนวนรีเลชั่นตามเงื่อนไขคำจำกัดความ(predicate) Projection : เป็นการเลือกเฉพาะคอลัมน์ที่ต้องการจากความสัมพันธ์ หรือเลือกแอตตริบิวต์ที่ต้องการในเทเบิ้ลที่กำหนด ผลลัพธ์ที่ได้จะปรากฏเป็นรีเลชั่นใหม่ตามเงื่อนไข Joining : เป็นการ join ระหว่างรีเลชั่นด้วยการ Projection แอตตริบิวต์ที่ที่ตรงกัน Linking : เป็นการเชื่อมข้อมูลระหว่างรีเลชั่นที่ตรงกันตามเงื่อนไข Data cleanup: ตรวจสอบ และซ่อมแซมส่วนที่ขัดข้อง เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องแม่นยำอยู่เสมอ Relational Algebra
Why do we need a database? ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล รักษาความถูกต้องของข้อมูล มีความเป็นอิสระของข้อมูล มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง ใช้ข้อมูลร่วมกันโดยมีการควบคุมจากศูนย์กลาง สามารถขยายงานได้ง่าย ทำให้ข้อมูลบูรณะกลับสู่สภาพปกติได้เร็วและมีมาตรฐาน
Components of DBMS Environment (User) Procedure (Data) Procedure Database System Procedure (Hardware) Procedure (Software)
User • ผู้สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มได้ดังนี้ • 1) ผู้ใช้งาน (End User)ได้แก่ผู้ที่นำข้อมูลจากฐานข้อมูลไปใช้งาน • 2) ผู้พัฒนาฐานข้อมูล (Developer) • Application Programmerได้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (Application Program) เพื่อเรียกใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลมาประมวลผล • Database Administrator (DBA)ได้แก่ผู้บริหารที่ทำหน้าที่ควบคุมและตัดสินใจในการกำหนดโครงสร้างของฐานข้อมูลชนิดของข้อมูลวิธีการจัดเก็บข้อมูลรูปแบบในการเรียกใช้ข้อมูลความปลอดภัยของข้อมูลและกฎระเบียบที่ใช้ควบคุมความถูกต้องของข้อมูลภายในฐานข้อมูล
Data ฐานข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ร่วมกันอย่างเป็นระบบซึ่งข้อมูลเหล่านี้ต้องสามารถมาใช้ประกอบกันได้ (Data Integrated) และต้องสามารถถูกใช้ร่วมกัน (Data Sharing) จากผู้ใช้หลายๆคนได้
ระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพควรต้องมีอุปกรณ์ต่างๆในการอำนวยความสะดวกในการบริหารระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งสิ่งที่ควรคำนึงถึงคือขนาดของหน่วยความจำหลักความเร็วของหน่วยประมวลผลกลางอุปกรณ์นำข้อมูลเข้าและออกรายงานรวมถึงความจุของหน่วยความจำสำรองที่จะรองรับการประมวลผลข้อมูลในระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพควรต้องมีอุปกรณ์ต่างๆในการอำนวยความสะดวกในการบริหารระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งสิ่งที่ควรคำนึงถึงคือขนาดของหน่วยความจำหลักความเร็วของหน่วยประมวลผลกลางอุปกรณ์นำข้อมูลเข้าและออกรายงานรวมถึงความจุของหน่วยความจำสำรองที่จะรองรับการประมวลผลข้อมูลในระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ Hardware
Software ในการติดต่อกับข้อมูลภายในฐานข้อมูลของผู้ใช้จะต้องกระทำผ่านโปรแกรมที่เรียกว่าระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management Systems: DBMS) ซึ่งจะทำหน้าที่ในการจัดการฐานข้อมูลโดยจะเป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมประยุกต์ต่างๆที่มีอยู่ในระบบฐานข้อมูลเพื่อจัดการและควบคุมความถูกต้องความซ้ำซ้อนและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่างๆภายในฐานข้อมูล
ข้อดีของการประมวลผลข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลข้อดีของการประมวลผลข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล • การประมวลผลข้อมูลทำได้อย่างรวดเร็ว • ค่าลงทุนในเบื้องต้นต่ำ • โปรแกรมสามารถควบคุมการใช้งานในแฟ้มข้อมูลของตนเองได้ • ข้อเสียของการประมวลผลข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล • มีความซ้ำซ้อนของข้อมูล (Redundancy) • ยากในการประมวลผลข้อมูลในแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้มข้อมูล • ไม่มีผู้ควบคุมหรือรับผิดชอบระบบทั้งหมด • โครงสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นอยู่กับโปรแกรม (Dependency)
ข้อดีของการประมวลผลข้อมูลในฐานข้อมูลข้อดีของการประมวลผลข้อมูลในฐานข้อมูล • ข้อมูลมีการเก็บอยู่รวมกันและสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ 2. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล 3. สามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งกันของข้อมูลที่อาจเกิดขึ้นได้ 4. การควบคุมความคงสภาพของข้อมูล (Integrity) 5. การจัดการข้อมูลในฐานข้อมูลจะทำได้ง่าย 6. ความเป็นอิสระระหว่างโปรแกรมประยุกต์และข้อมูล 7. การมีผู้ควบคุมระบบเพียงคนเดียว
ข้อเสียของการประมวลผลข้อมูลในฐานข้อมูลข้อเสียของการประมวลผลข้อมูลในฐานข้อมูล การใช้งานฐานข้อมูลจะเสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง เนื่องจากราคา DBMS ค่อนข้างแพงและต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพค่อนข้างสูง การหยุดชะงักและการสูญเสียข้อมูลที่อาจเกิดขึ้นได้ มีการเสี่ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ เนื่องจากข้อมูลถูกจัดเก็บไว้ในลักษณะเป็นศูนย์รวมการเสี่ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ เนื่องจากข้อมูลถูกจัดเก็บไว้ในลักษณะเป็นศูนย์รวม(Centralized Database System)และเพราะข้อมูลถูกเก็บไว้ที่เดียวกันหากฐานข้อมูลมีปัญหาก็อาจทำให้เสียข้อมูลบางส่วนไปได้
ตารางเปรียบเทียบการใช้ข้อมูลและฐานข้อมูลตารางเปรียบเทียบการใช้ข้อมูลและฐานข้อมูล
Database Management System : DBMS Database Management System : DBMS คือ ซอฟท์แวร์โปรแกรมหรือกลุ่มของซอฟท์แวร์โปรแกรมที่ทำหน้าที่เข้าถึงและจัดการกับข้อมูลจำนวนมากที่มีความสัมพันธ์กัน เปรียบเสมือนตัวกลางระหว่างผู้ใช้งานกับฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์
Computer-Based Information System(CBIS) ซึ่งเป็นแนวคิดรวบรวมข้อมูลโปรแกรมประยุกต์ต่างๆมาทำงานร่วมกันได้โดยมีเทคนิคการดึงและจัดเก็บที่ซับซ้อนและสามารถแสดงความสัมพันธ์ของระเบียนต่างๆภายใต้แฟ้มข้อมูลได้ ทั้งนี้ยังทำหน้าที่จัดระเรียบแฟ้มทางกายภาพ ควบคุมการเข้าถึงข้อมูลในรูปแบบต่างๆการบำรุงรักษาฐานข้อมูลให้อิสระจากโปรแกรมประยุกต์ ความปลอดภัยและการกู้แฟ้มข้อมูลอีกด้วย
Schema ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ schema (ออกเสียง SKEE-mah) เป็นการจัดหรือโครงสร้างสำหรับฐานข้อมูล กิจกรรมของแบบจำลองข้อมูลนำไปสู่ schema (พหูพจน์คือ schemata คำนี้มาจากภาษากรีกสำหรับ “รูปแบบ” หรือ “รูปร่าง” อีกคำหนึ่งมาจากแหล่งเดียวกันคือ “schematic”) คำนี้ใช้ในการอภิปรายทั้งฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์และฐานข้อมูลเชิงอ๊อบเจค บางครั้งคำนี้ดูเหมือนว่าอ้างการมองเห็นโครงสร้างและบางครั้งคำอธิบายข้อความทางการ
การนำไปใช้งานสามารถแบ่งได้ 4 ระดับดังนี้ • ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการวางแผนนโยบาย กลยุทธ์ และการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง • ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในส่วนยุทธวิธีในการวางแผนการปฏิบัติและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง • ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในระดับปฎิบัติการและการควบคุมในขั้นตอนนี้ผู้บริหารระดับล่างจะเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปฎิบัติงาน • ระบบสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล
EIS ระดับวางแผนยุทธ์ศาสตร์ DDS ระดับวางแผนการบริหาร MIS ระดับวางแผนปฏิบัติการ DPS ระดับปฏิบัติการ Management Level
Management Information System ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS) คือ สารสนเทศในระดับกลางที่ได้มาจากระบบประมวลผล ธุรกรรมประจำวันในรูปแบบของรายงานประจำเดือน ประจำปี หรือในรูปแบบของกราฟ บุคลากรที่จะนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้คือ ระดับบริหารขั้นต้นและขั้นกลาง สารสนเทศที่ได้มานั้นจะนำมาช่วยในการบริหารงานได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งจะช่วยควบคุมการทำงานในระดับปฏิบัติการ ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือกระบวนการทำงานได้
Executive Information System ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร (Executive Information System : EIS) และระบบผู้ชำนาญการ (Expert System : ES) คือ สารสนเทศที่จะช่วยในการบริหารงานทั้งองค์กร ส่วนหนึ่งได้มาจากระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร ส่วนใหญ่จะได้มาจากข้อมูลภายนอกเช่นเดียวกับระดับบริหารขั้นกลาง แต่อยู่ในรูปแบบของสถิติหรือการพยากรณ์ต่างๆ นอกจากนี้ระบบผู้ชำนาญการจะช่วยป้อนข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นเฉพาะเรื่องนั้นๆ เพื่อช่วยสนับสนุนการตัดสินใจหรือปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ขององค์กรใหม่ให้สอดคล้องกับสภาวะการณ์ของโลกที่เปลี่ยนไปได้อย่างทันท่วงที
Decision Support System ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System : DSS) ในระดับบริหารขั้นกลางอาจจะจำเป็นต้องมีสารสนเทศที่จะช่วยสนับสนุนในการตัดสินใจสำหรับการบริหารงานมากขึ้น จึงต้องพึ่งข้อมูลจากภายนอก (External Data) เช่น ข้อมูลคู่แข่ง ข้อมูลราคาน้ำมัน ข้อมูลค่าขนส่ง เป็นต้น
Database Administration: DBA เป็นผู้ที่จัดการงานด้านการใช้ฐานข้อมูล โดยสามารถสรุปหน้าที่ของ DBA ได้ดังต่อไปนี้ 1.การจัดการกับฐานข้อมูล (Managing the Database) 2.ควบคุมระบบรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล 3.วางแผนป้องกันเมื่อเกิดความเสียหายขึ้นกับระบบฐานข้อมูล