1 / 47

สาระสำคัญในการกำหนดให้มี คณะกรรมการพิทักษ์ ระบบคุณธรรมในราชการ พลเรือน

สาระสำคัญในการกำหนดให้มี คณะกรรมการพิทักษ์ ระบบคุณธรรมในราชการ พลเรือน. ภิรมย์ สิมะเสถียร กรรมการ ก.พ.ค. การบริหารงานบุคคล. 1 สรรหา 2 พัฒนา 3 รักษาไว้ 4 ใช้ประโยชน์. ระบบคุณธรรม( Merit System). ถือหลักดังนี้.... 1 ความรู้ความสามารถ 2 ความเสมอภาคในโอกาส

Download Presentation

สาระสำคัญในการกำหนดให้มี คณะกรรมการพิทักษ์ ระบบคุณธรรมในราชการ พลเรือน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สาระสำคัญในการกำหนดให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมในราชการพลเรือนสาระสำคัญในการกำหนดให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมในราชการพลเรือน ภิรมย์ สิมะเสถียร กรรมการ ก.พ.ค.

  2. การบริหารงานบุคคล 1 สรรหา 2 พัฒนา 3 รักษาไว้ 4 ใช้ประโยชน์

  3. ระบบคุณธรรม(Merit System) ถือหลักดังนี้.... 1 ความรู้ความสามารถ 2 ความเสมอภาคในโอกาส 3 ความเป็นกลางทางการเมือง 4 ความมั่นคงในการรับราชการ

  4. การพิทักษ์ระบบคุณธรรม MERIT SYSTEM PROTECTION ลักษณะ เป็นกระบวนการบริหารงานบุคคล (PERSONNEL ADMINISTRATION PROCESS) ผู้พิทักษ์ ก่อน พ.ศ.2551 ก.พ.เป็น WATCH DOG OF MERIT SYSTEM พ.ร.บ.-พลเรือน 2551 ก.พ.ค. เป็นMERIT SYSTEM PROTECTION COMMISSION P.2

  5. บทบาทผู้พิทักษ์ระบบคุณธรรมบทบาทผู้พิทักษ์ระบบคุณธรรม ก.ร.พ. มีหน้าที่เลือกสรรผู้มีความรู้ ความสามารถ เข้ารับราชการตามระบบคุณธรรม (MERIT SYSTEM) P.3A

  6. บทบาทผู้พิทักษ์ระบบคุณธรรม (ต่อ) ก.พ. มีหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนในด้าน 1.นิติบัญญัติ คือ ออกกฎ กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการ 2.บริหาร คือ พิจารณาอนุมัติเรื่องต่างๆ 3.ตุลาการ คือ พิจารณาเรื่องลงโทษ อุทธรณ์ ร้องทุกข์ P.3B

  7. ความไม่เหมาะสมของบทบาท ก.พ. การให้ ก.พ.มีบทบาททั้งด้านนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ มีความไม่เหมาะสมอยู่ 2 ประการ คือ 1. เป็นองค์กรเผด็จการ 2. สวมหมวก 2 ใบ P.4

  8. ลักษณะขององค์กรพิทักษ์ระบบคุณธรรมลักษณะขององค์กรพิทักษ์ระบบคุณธรรม ชื่อว่าMERIT SYSTEMS PROTECTION BOARD ลักษณะ - เป็นองค์กรอิสระจากฝ่ายบริหาร - เป็นองค์กรกึ่งตุลาการ - พิทักษ์ระบบคุณธรรมสำหรับข้าราชการหลายประเภท ในสหรัฐอเมริกา P.5A

  9. ลักษณะขององค์กรพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ต่อ) ชื่อว่าMERIT PROTECTION COMMISSIONER SECRETARIATE ใช้ร่วมกันโดย PUBLIC SERVICE COMMISSIONER จัด STAFF ให้ MERIT PROTECTION COMMISSIONER ในออสเตรเลีย P.5B

  10. หลักสำคัญของ MERIT SYSTEM 1. COMPETENCY 2. EQUALITY OF OPPORTUNITY 3. SECURITY OF TENURE 4. POLITICAL NEUTRALITY P.14

  11. ข้อควรคำนึงตามระบบคุณธรรม • มาตรา 42 การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คำนึงถึงระบบคุณธรรมดังต่อไปนี้ • การรับบุคคลเพื่อบรรจุเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ต้องคำนึงถึงความรู้ความสามารถของบุคคล ความเสมอภาค ความเป็นธรรม และประโยชน์ของทางราชการ • การบริหารทรัพยากรบุคคล ต้องคำนึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององค์กรและลักษณะของงาน โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม P.15A

  12. (3) การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตำแหน่งและ การให้ประโยชน์อื่นแก่ข้าราชการ ต้องเป็นไปอย่าง เป็นธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพและ ความประพฤติและจะนำความคิดเห็นทางการเมือง หรือสังกัดพรรคการเมืองมาประกอบการพิจารณามิได้ (4) การดำเนินการทางวินัย ต้องเป็นไปด้วยความยุติธรรมและ โดยปราศจากอคติ (5) การบริหารทรัพยากรบุคคล ต้องมีความเป็นกลางทาง การเมือง ข้อควรคำนึงตามระบบคุณธรรม (ต่อ) P.15B

  13. บทบาทของ ก.พ.ค. 1.เป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำ 2.เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด 3.เป็นผู้สั่งการ 4.เป็นผู้ออกกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ วิธีการ P.16

  14. มาตรา 31 ก.พ.ค.มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) เสนอแนะต่อ ก.พ.หรือองค์กรกลางบริหารงาน บุคคลอื่น เพื่อให้ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่น ดำเนินการจัดให้มีหรือปรับปรุงนโยบายการบริหารทรัพยากร บุคคลในส่วนที่เกี่ยวกับการพิทักษ์ระบบคุณธรรม P.17

  15. มาตรา 126 ในกรณีที่ ก.พ.ค.เห็นว่า กฎ ระเบียบ หรือคำสั่งใดที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ และมุ่งหมายให้ใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่สอดคล้องกับระบบคุณธรรมตามมาตรา 42 ให้ ก.พ.ค.แจ้งให้หน่วยงานหรือผู้ออกกฎ ระเบียบ หรือคำสั่งดังกล่าวทราบ เพื่อดำเนินการแก้ไขหรือยกเลิกตามควรแก่กรณี P.18

  16. มาตรา 114 ผู้ใดถูกสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้ หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการตามมาตรา 110 (1)(3) (5)(6)(7)และ(8) ผู้นั้นมีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค.ภายในสามสิบวันนับแต่วันทราบหรือถือว่าทราบคำสั่ง การอุทธรณ์และการวินิจฉัยอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.พ.ค. P.19

  17. มาตรา 123 การร้องทุกข์ที่เหตุเกิดจากผู้บังคับบัญชาให้ร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปตามลำดับ การร้องทุกข์ที่เหตุเกิดจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี หรือต่อรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีเจ้าสังกัด หรือนายกรัฐมนตรี ให้ร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค. P.20

  18. มาตรา 116 วรรคหนึ่ง เมื่อ ก.พ.ค.พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์แล้วให้ผู้บังคับบัญชา ซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ดำเนินการให้เป็นไปตามคำวินิจฉัยนั้น ภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ ก.พ.ค.มีคำวินิจฉัย P.21

  19. มาตรา 116 วรรคสาม ผู้บังคับบัญชาผู้ใดไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเป็นการจงใจละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น P.22

  20. มาตรา 123 วรรคสาม เมื่อ ก.พ.ค. ได้วินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ประการใดแล้ว ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือ ต่อรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีเจ้าสังกัดหรือนายกรัฐมนตรีแล้วแต่กรณี ดำเนินการให้เป็นไปตามคำวินิจฉัยของ ก.พ.ค. P.23

  21. หลักประกันความเป็นมืออาชีพหลักประกันความเป็นมืออาชีพ ให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) แยกองค์กรออกกฎกับตรวจกฎ องค์กรบังคับใช้กฎกับรับร้องทุกข์องค์กรสั่งลงโทษกับอุทธรณ์ หลักประกันความเป็นธรรม อำนาจหน้าที่ กรอบการพิจารณา หลักประกันความเป็นอิสระในการใช้ดุลพินิจของ ก.พ.ค. • คุณสมบัติ:เทียบเท่าตุลาการศาลปกครองชั้นต้น • ทำงานเต็มเวลา การวางมาตรการพิทักษ์ระบบคุณธรรม • ระยะเวลาสูงสุดของการพิจารณาอุทธรณ์๑๒๐+๖๐+๖๐ วัน • ทุกข์ที่เกิดจากปลัดกระทรวง,รมต.หรือ นรม.ให้ร้องต่อ ก.พ.ค. • ก.พ.ค.มีมติประการใดให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการนั้น • ไม่พอใจ ฟ้องศาลปกครองสูงสุดได้ • ที่มา:คกก.คัดเลือก • ประธานศาลปกครองสูงสุด • รองประธานศาลฎีกา • กรรมการ ก.พ. ผู้ทรงคุณวุฒิ • เลขาธิการ ก.พ. • ลักษณะต้องห้าม - เป็น ขรก.พนง.ของรัฐ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ฯลฯ • วาระ: ๖ ปีเป็นได้ครั้งเดียว • ฝ่ายบริหารปลดไม่ได้ • ลธ.กพ. เป็นเพียงเลขานุการ • กำกับตรวจสอบให้การบริหาร “คน” เป็นไปตามระบบคุณธรรม • กำกับตรวจสอบความชอบกฎหมายของกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่งของ ก.พ./สรก./ผบ. • พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์และเรื่องร้องทุกข์ • หลักการพื้นฐาน • พ.ร.บ./กฎหมายลูกบท 21 21

  22. การปรับปรุงระบบอุทธรณ์และร้องทุกข์การปรับปรุงระบบอุทธรณ์และร้องทุกข์ เดิม ใหม่ อุทธรณ์ต่อฝ่ายบริหารซึ่งเป็น ผู้ออกคำสั่ง อุทธรณ์ต่อองค์กรที่ไม่มี ส่วนได้เสีย อุทธรณ์ต่อ อ.ก.พ.สามัญ หรือ ก.พ. อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ก.พ.พิจารณาอุทธรณ์แล้ว มีมติ ประการใดต้องเสนอ นรม.สั่งการ ก.พ.ค.มีมติประการใด ส่วนราชการต้องปฏิบัติตาม ร้องทุกข์ต่อ ผบ. อ.ก.พ.สามัญ หรือ ก.พ. ร้องทุกข์ต่อ ผบ. เหนือขึ้นไป เว้นแต่ทุกข์ที่เกิดจาก ปลัดกระทรวง รมต. หรือ นรม.ให้ร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค. ถูกสั่งให้ออกจากราชการให้ร้องทุกข์ บางกรณีให้ร้องทุกข์บางกรณี เช่น เหตุเจ็บป่วย เหตุขาด คุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม เหตุทำงานไม่มีประสิทธิผล/ ประสิทธิภาพ เหตุบกพร่องในหน้าที่หรือทำตัวไม่เหมาะสม เหตุมลทินมัวหมอง ให้อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. 22

  23. เปรียบเทียบ พ.ร.บ. 2535 กับ พ.ร.บ. 2551 เกี่ยวกับเรื่องอุทธรณ์ เรื่องร้องทุกข์ และการพิทักษ์ระบบคุณธรรม

  24. ผลดีของการจัดตั้งคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) ความยุติธรรม 1. ก.พ.ค. มาจากการสรรหาขององค์กรปลอดการเมือง 2. แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้มีประสบการณ์ทางบริหาร (มืออาชีพ) 3. ทำงานเต็มเวลา 4. อยู่ในตำแหน่งวาระเดียว (6ปี) 5. ใช้ระบบไต่สวนโดย ก.พ.ค. 6. เดิมถูกลงโทษโดยมติ ก.พ. ให้อุทธรณ์ต่อ ก.พ.อีก เป็นให้ อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. 7. เดิมเมื่ออุทธรณ์ ก.พ. แล้ว ก.พ.ต้องส่งให้นายกรัฐมนตรีสั่งการ (ไม่ปลอดการเมือง) เป็น ก.พ.ค.วินิจฉัยได้เอง

  25. ความเป็นธรรม • เดิม โทษภาค / ตัด / ลด อุทธรณ์ต่อ อ.ก.พ.กระทรวง (วินิจฉัยไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน) เป็น อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ทุกสถานโทษ แห่งเดียว (เป็นมาตรฐานเดียวกันและเสมอหน้ากัน) • หลักฟังความ 2 ฝ่าย ให้โอกาสต่อสู้อย่างเสมอหน้ากัน

  26. ความรวดเร็ว 1. ลดขั้นตอนลง (1) เดิม ก.พ.พิจารณาแล้วต้องส่งนายกรัฐมนตรีสั่งการ หากเห็นแย้งต้องเสนอ ค.ร.ม.เป็น ก.พ.ค. มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยได้เอง (2) เดิม อุทธรณ์ ก.พ. ศาลปกครองชั้นต้น ศาลปกครองสูงสุด เป็น อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ศาลปกครองสูงสุด

  27. 2. ก.พ.ค. เป็นมืออาชีพ / ทำงานเต็มเวลา 3. แต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์และคณะกรรมการวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ช่วยพิจารณา 4. คณะกรรมการพิจารณาไต่สวนวินิจฉัยด้วยตนเอง โดยมีเจ้าหน้าที่ช่วยดำเนินการ

  28. กระบวนการอุทธรณ์และพิจารณาอุทธรณ์ พรบ. 2535 การอุทธรณ์ โทษไม่ร้ายแรง ภาค/ตัด/ลด โทษร้ายแรง คำสั่งลงโทษของ นรม./ รมต./ ปลัดกระทรวง สั่งตามมติ อ.ก.พ.กระทรวง (ไม่ร้ายแรง) ผู้พิจารณา คือ ก.พ. ผู้พิจารณา คือ อ.ก.พ.จังหวัด /กรม /กระทรวง การวินิจฉัยอุทธรณ์ ยกโทษ, เพิ่มโทษ, ลดโทษ, งดโทษ, แก้ไขเปลี่ยนแปลง เพื่อความถูกต้องตามกฎหมายและเกิดความเป็นธรรม การวินิจฉัยอุทธรณ์ ยกโทษ, เพิ่มโทษ, ลดโทษ, งดโทษ, แก้ไขเปลี่ยนแปลงเพื่อความถูกต้องตามกฎหมายและเกิดความเป็นธรรม รายงานนรม.เพื่อพิจารณาสั่งการ ไม่เห็นด้วยตามมติ ก.พ. ส่งให้ ครม. พิจารณา เห็นด้วยตามมติ ก.พ. ผบ. สั่ง/ปฏิบัติตามมติ อ.ก.พ. กรณีไม่เห็นด้วยกับ คำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองชั้นต้น ผบ. สั่ง/ปฏิบัติตามคำสั่ง นรม.

  29. กระบวนการอุทธรณ์และพิจารณาอุทธรณ์ พ.ร.บ. 2551 การอุทธรณ์ อุทธรณ์คำสั่งลงโทษ/สั่งให้ออก ผู้พิจารณา คือ ก.พ.ค. คกก. วินิฉัยอุทธรณ์ • ระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ • 120 วัน • ขยายไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละ ไม่เกิน 60 วัน (ม.118) • การวินิจฉัยของ ก.พ.ค. (ม. 120) • ไม่รับอุทธรณ์, ยกอุทธรณ์, มีคำวินิจฉัยให้แก้ไข / ให้ยกเลิกคำสั่งลงโทษ • เยียวยาความเสียหาย/ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม • เพิ่มโทษไม่ได้ เว้นแต่ได้รับแจ้งจาก ก.พ. ผบ. สั่งภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ ก.พ.ค. มีคำวินิจฉัย(ม.116) กรณีไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองสูงสุด

  30. กระบวนการร้องทุกข์ พรบ. 2535 การร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยร้องทุกข์ • เหตุเกิดจาก • นรม./ รมต./ ปลัดกระทรวง • กรณี ผบ. สั่งตามมติ อ.ก.พ.กระทรวง กรณีถูกสั่ง พักราชการ กรณีถูกสั่งให้ออก • เหตุเกิดจาก • ผู้บังคับบัญชา • ผวจ./อธิบดี ผู้พิจารณา คือ ก.พ. ผู้พิจารณา คือ อ..ก.พ.จังหวัด /กรม/กระทรวง • คำวินิจฉัยร้องทุกข์ • ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขโดยเพิกถอน/ยกเลิกการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามกม.ให้ดำเนินการด้วยประการอื่นเพื่อความถูกต้องเป็นธรรม • การวินิจฉัยร้องทุกข์ • ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขโดยเพิกถอน/ยกเลิกการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามกม.ให้ดำเนินการด้วยประการอื่นเพื่อความถูกต้องเป็นธรรม รายงาน นรม. พิจารณาสั่งการตามที่เห็นสมควร ผบ. สั่งและปฏิบัติตามมติ อ.ก.พ. ผบ. สั่งและปฏิบัติตามคำสั่งนรม. กรณีไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยร้องทุกข์ ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองชั้นต้น ฟ้องต่อศาลปกครองชั้นต้น กรณีไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยร้องทุกข์

  31. กระบวนการร้องทุกข์ ตาม พรบ. 2551 การร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยร้องทุกข์ เช่น ไม่พ้นทดลอง,ขาดคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งอยู่ก่อน คับข้องใจเกิดจากการปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติของ ผบ. การสั่งให้ออกที่ไม่อาจอุทธรณ์ได้ • เหตุเกิดจาก • ผู้บังคับบัญชา • ผวจ./อธิบดี เหตุเกิดจาก นรม./ รมต./ ปลัดกระทรวง ผู้พิจารณา คือ ผบ. เหนือชั้นขึ้นไป ผู้พิจารณา คือ ก.พ.ค. คกก. วินิจฉัยร้องทุกข์ • การวินิจฉัยร้องทุกข์ • ไม่รับคำร้องทุกข์, ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขหรือเยียวยา, ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความเป็นธรรม การวินิจฉัยร้องทุกข์ ไม่รับคำร้องทุกข์, ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขหรือ เยียวยา, ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความเป็นธรรม กรณีไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยร้องทุกข์ ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองชั้นต้น

More Related