1 / 66

โดย รศ.ดร.กอบบุญ หล่อทองคำ ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ข้อมูลทุนวิจัย. โดย รศ.ดร.กอบบุญ หล่อทองคำ ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายอุตสาหกรรม. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

meena
Download Presentation

โดย รศ.ดร.กอบบุญ หล่อทองคำ ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อมูลทุนวิจัย โดย รศ.ดร.กอบบุญ หล่อทองคำ ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายอุตสาหกรรม

  2. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) • ฝ่าย 1 นโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ • ฝ่าย 2 เกษตร • ฝ่าย 3 สวัสดิภาพสาธารณะ • ฝ่าย 4 ชุมชนและสังคม • ฝ่าย 5 อุตสาหกรรม เช่น โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (www.trfsme.org) ทุน IRPUS ทุน EnPUS และIRVE (www.enpus.org) ทุน TRF-MAG และทุน สกว.-สสว. ( www.trfmag.org) • อุตสาหกรรมท้องถิ่น • งานวิจัยเชิงวิชาการ • โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.)

  3. ทุนพัฒนานักวิจัยของสกว.ทุนพัฒนานักวิจัยของสกว. http://www.trf.or.th/fund/ • ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ ต.ค.- พ.ย. • ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ พ.ย.-ธ.ค. • ทุนเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยของอาจารย์รุ่นกลาง พ.ย.-ธ.ค. • ทุนพัฒนานักวิจัย (เมธีวิจัย สกว.) พ.ย.-ธ.ค. • ทุนวิจัยองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นพื้นฐานต่อการพัฒนา (วุฒิเมธีวิจัย สกว.) พ.ย.-ธ.ค. • ทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย (เมธีวิจัยอาวุโส)

  4. ตัวอย่างแหล่งทุน • ทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) http://www.nrct.net • ทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (5 ฝ่าย) http://www.trf.or.th เช่น • - ทุนสนับสนุนงานวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี (IRPUS) • http://www. irpus.org • - ทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • http://www.trfmag.org • - ทุน สกว.-บริษัท ปูนซีเมนต์ นครหลวง จำกัด (มหาชน): ทุนวิจัยสาขา • วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อมhttp://www.trfmag.org • - ทุนจากโครงการวิจัยแห่งชาติ : ยางพารา • 3. ทุนจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา www.mua.go.th

  5. ตัวอย่างแหล่งทุน (ต่อ) • 4. ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) http//:www.onesqa.or.th • 5. ทุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ www.nstda.or.th • (5 national research centers) เช่น • - โครงการลงทุนวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยียกเว้นภาษีรายได้ 200% ร่วมกับ • กรมสรรพากร www.rd.go.th มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา • เทคโนโลยี • - โครงการ ITAP ภายใต้ MTEC www.nstda.or.th/itap • 6. ทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)www.thaihealth.or.th • รศ.ดร.ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล • โทรศัพท์ 0-2246-1258-9 ต่อ 3601 Email: p_leerapan@hotmail.com

  6. ตัวอย่างแหล่งทุน (ต่อ) • 7. ทุนจากสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) www.kmi.or.th • 8. ทุนจากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) www.nia.or.th • 9. ทุนจากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว) http://www.tistr.or.th • 10. ทุนจากสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน www.eppo.go.th คุณนุจรีย์ เพชรรัตน์ • โทรศัพท์ 0-2612-1373, 0-2612-1555 ต่อ 371 Email: nootjaree@eppo.go.th • 11. ทุนจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย htpp://www.fti.or.th • 12. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)http://www.arda.or.th • 13. New Energy and Industrial Technology Development Organization (NEDO) International Projects เช่น โครงการด้าน Efficient Use of Energy โทร. 02-256-6726 ติดต่อ Mr.Kotnani

  7. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.) นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ระหว่างปี 2551-2553 ของวช. ให้ความสำคัญในการวิเคราะห์ข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐโดย 1. มุ่งสะท้อนและตอบสนองความต้องการของพื้นที่ 2. มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับ - ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ - นโยบายรัฐบาลที่อยู่บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) - ยุทธศาสตร์การวิจัยระดับภูมิภาค - ปัญหาและสถานการณ์ของประเทศ http://www.nrct.net/index.php

  8. ตัวอย่างข้อเสนอการวิจัยปี 2550สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 1. ด้านการศึกษาวิจัยปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. แผนพลังงานทดแทน 3. โครงการวิจัยสานเกลียวคู่นวัตกรรมด้านพลาสติกชีวภาพ 4. ด้านการพยากรณ์ป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติเกี่ยวกับน้ำ 5. ด้านมลพิษทางอากาศของประเทศภายใต้ปรากฏการณ์โลกร้อน 6. ด้านเศรษฐกิจพอเพียง 7. ด้านการพัฒนาสังคมไทยสู่สังคมการเรียนรู้และแก้ปัญหาทางเพศและยาเสพติด 8. ด้านการศึกษาปัญหาทางสาธารณสุขที่ได้รับการจัดลำดับความสำคัญสูงสุดระดับประเทศ

  9. ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2553) ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 1 การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 2 การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาสังคม ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 3 การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางวิทยาการและทรัพยากรบุคคล ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 4 การเสริมสร้างและพัฒนาทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 5 การบริหารจัดการความรู้ ผลงานวิจัยทรัพยากรและภูมิปัญญาของประเทศสู่การใช้ประโยชน์ด้วยยุทธวิธีที่เหมาะสม

  10. เรื่องที่ควรวิจัยเร่งด่วนจากยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ 1. การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง 2. ความมั่นคงของรัฐและการเสริมสร้างธรรมาภิบาล 3. การปฏิรูปการศึกษา 4. การจัดการน้ำ 5. การพัฒนาพลังงานทดแทน 6. การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออกและลดการนำเข้า 7. การป้องกันโรคและการรักษา 8. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ 9. เทคโนโลยีใหม่และเทคโนโลยีที่สำคัญเพื่ออุตสาหกรรม 10. การบริหารจัดการการท่องเที่ยว

  11. งบประมาณที่คาดว่าจะใช้ตามนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติงบประมาณที่คาดว่าจะใช้ตามนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ

  12. โครงการทุนสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย (Thailand Graduate Institute of Science and Technology, TGIST) โครงการทุน TGIST ภายใต้สวทช. จากทั้ง 5 ส่วนงาน 1. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) 2. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) 3. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) 4. ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) 5. ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี (TMC) รับสมัครข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่องานวิทยานิพนธ์ โดยนักวิจัยของ สวทช. เป็นผู้เสนอชื่อโครงการวิจัย อาจารย์ที่มีความร่วมมือ (พร้อมประวัติส่วนตัวและผลงาน) และชื่อนิสิต/นักศึกษาปริญญาโทผู้เข้าร่วมโครงการ แนบใบสมัครของนิสิต/นักศึกษาที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะรับทุน (ถ้ามี) ที่มา: http://www.nstda.or.th/tgist

  13. ทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. (TRF Master Research Grants: TRF-MAG) ด้านมนุษย์ศาสตร์ – สังคมศาสตร์ ดูรายละเอียดที่ www.trf.or.th

  14. การให้ทุนวิจัย จะมุ่งเน้นการทำวิจัยเป็นกลุ่มๆ ในหัวข้อ (Topic) ภายใต้ประเด็นหัวข้อใหญ่ (Issue) แต่ละกลุ่มประกอบด้วยนักศึกษา 2-3 คน หัวข้อวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาแต่ละคน (Thesis topic) เป็นหัวข้อย่อยภายใน Topic ใต้ Issue แผนภูมิที่ 1

  15. นักศึกษาอาจเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์/หัวข้อย่อย (Thesis topic) ที่อยู่ภายในหัวข้อ (Topic) ข้างต้นหรือหัวข้อที่คิดขึ้นใหม่ แต่หัวข้อนั้นต้องอยู่ในประเด็นหัวข้อ (Issue) ที่กำหนดข้างต้น ปี 2550 สกว. สนับสนุนได้ไม่เกิน 60 ทุน

  16. กำหนดเวลาการดำเนินการปี 2550

  17. รูปแบบของงบประมาณสนับสนุนทุนรูปแบบของงบประมาณสนับสนุนทุน แบ่งตามลักษณะกลุ่มของอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีนักศึกษาผู้วิจัยอยู่ในความดูแล 2 คน หรือ 3 คน รูปแบบ ก. นักศึกษาผู้วิจัยระดับมหาบัณฑิต 2 คน รูปแบบ ข. นักศึกษาผู้วิจัยระดับมหาบัณฑิต 3 คน

  18. ผู้ประสานงานชุดโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. (TRF Master Research Grants: TRF-MAG)) ด้านมนุษยศาสตร์ - สังคมศาสตร์ • ศาสตราจารย์ ดร.ปราณี กุลละวณิชย์ • สำนักงานโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุษยศาสตร์ - สังคมศาสตร์ • ห้อง 405 ชั้น 14 อาคารจุฬาวิชช์ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ถนนอังรีดูนังต์ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 • โทรศัพท์/โทรสาร 0 -2218 -9480 • E-mail: trf_mag@hotmail.com • Website:http://mag.trf.or.th

  19. ทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว.สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (TRF Master Research Grants: TRF-MAG) 1. ทุน สกว. ร่วมกับสถาบันการศึกษา (MAG co-funding) 2. ทุน สกว. ร่วมกับบริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) 3. ทุน สกว. ร่วมกับสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) 4. ทุน สกว. ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ http://www.trfmag.org

  20. เงื่อนไขทุน MAG co-funding • สนับสนุนงานวิจัยในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • สนับสนุนงานวิจัยซึ่งอาจมีหน่วยงานอื่นหรือมีภาคอุตสาหกรรมเข้าร่วมโครงการ (ซึ่งต่อไปนี้จะนิยามว่า “ผู้ร่วมสนับสนุน”) หรือไม่ก็ได้ • นักศึกษาเป็นผู้เสนอโครงการภายใต้การรับรองของอาจารย์ที่ปรึกษาผ่านบัณฑิตวิทยาลัยหรือคณะต้นสังกัด

  21. เงื่อนไขทุน MAG co-funding (ต่อ) • อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 1 ท่าน ดูแลได้ ไม่เกิน 2 โครงการ ในระหว่างที่โครงการยังไม่สำเร็จ ทั้งนี้ไม่นับรวมโครงการอื่นภายใต้การสนับสนุนของ สกว. • สกว. จะทำสัญญาการรับทุนกับอาจารย์ที่ปรึกษาของผู้เสนอโครงการ • เมื่อสิ้นสุดโครงการจะต้องมีงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการภายใต้ประกาศของโครงการนี้ หรือสิทธิบัตรสำหรับผลงานตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการจะต้องเป็นการนำเสนอแบบปากเปล่า • ระยะเวลาการสนับสนุนค่าจ้างนักศึกษาผู้วิจัยไม่เกิน 18 เดือน นับจากวันที่ทำสัญญาการรับทุน ภายในวงเงิน 200,000 บาท

  22. เงื่อนไขทุน MAG co-funding (ต่อ) • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยจะคัดเลือกโครงการดีเด่นเพื่อให้นำเสนอในงานนิทรรศการเพื่อประกาศเกียรติคุณและเผยแพร่โครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. สู่สาธารณชน • ในกรณีที่มีเงินสนับสนุนการวิจัยจากบัณฑิตวิทยาลัย และ/หรือ คณะต้นสังกัดของผู้เสนอโครงการ และ/หรือ ผู้ร่วมสนับสนุน เป็นหน้าที่ของผู้รับทุนจะต้องตกลงเรื่องผลประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญากับผู้ร่วมสนับสนุนก่อน สกว. จะไม่เกี่ยวข้อง

  23. เงื่อนไขทุน MAG co-funding (ต่อ) • สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาให้เป็นตามข้อกำหนดของสถาบันการศึกษานั้นๆ หากไม่มีข้อกำหนดให้ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสิทธิของสถาบันการศึกษานั้น ในกรณีที่ผลงานที่มีศักยภาพและสามารถพัฒนาต่อยอดได้สกว. มีสิทธิที่จะเข้าเจรจาก่อน (right of first refusal) และถ้า สกว. ให้ทุนสนับสนุนต่อโดยอาจร่วมกับหน่วยงานอื่น เช่นภาคอุตสาหกรรม ผลประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญาและการจัดการทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นไปตามเกณฑ์ของ สกว. ตามสัญญาของทุนใหม่นั้น ๆ ในกรณีที่เป็นโครงการซึ่งทำร่วมกับผู้ร่วมสนับสนุน การรักษาความลับของผลงาน ผลประโยชน์ทางด้านทรัพย์สินทางปัญญา (ถ้ามี) และกรรมสิทธิ์ในอุปกรณ์ที่จะเป็นผลลัพธ์ที่ได้จากโครงการ ให้เป็นการตกลงร่วมกันก่อนเริ่มโครงการระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้ร่วมสนับสนุนที่ร่วมโครงการ ทั้งนี้ สกว. จะไม่มีส่วนเข้าไปร่วมไกล่เกลี่ยหากมีกรณีพิพาท และหากผู้ร่วมสนับสนุนที่เข้าร่วมโครงการได้กรรมสิทธิ์ในอุปกรณ์นั้นเมื่อสิ้นสุดโครงการและต้องการปิดผลงานเป็นความลับ ผู้ร่วมสนับสนุนจะต้องจ่ายเงินคืนเฉพาะส่วนค่าวัสดุและค่าใช้สอยที่ใช้ในโครงการให้ สกว.

  24. งบประมาณสนับสนุนจาก สกว. งบประมาณสนับสนุนต่อโครงการภายใน 18 เดือน ไม่เกิน 200,000 บาท : • ค่าสมนาคุณอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) 20,000 บาท (จ่ายหลังจากการตีพิมพ์บทความ) • ค่าจ้างนักศึกษาผู้วิจัย 60,000 บาท (แยกจ่าย 3,000 บาท/เดือน ไม่เกิน 18 เดือน) • ค่าวัสดุ และค่าใช้สอยในการวิจัยไม่เกิน 120,000 บาท ***ต้องเขียนรายละเอียดงบประมาณโดยสังเขป*** งบประมาณระหว่างหมวดค่าวัสดุและหมวดค่าใช้สอยสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ไม่เกินร้อยละ 20 ของงบประมาณในแต่ละหมวด

  25. สกว. สนับสนุนการเดินทางไปเสนอผลงานในต่างประเทศของนักศึกษาที่ได้รับทุนตั้งแต่ปี 2548 จำนวน 11ทุน/รุ่นที่รับทุนไม่เกิน 30,000 บาท/โครงการ • ต้องได้รับการตอบรับการนำเสนอแบบปากเปล่า • ส่งเรื่องและเอกสารเพื่อขอรับการอนุมัติก่อน • การพิจารณาทุนใช้ระบบ first-come-first-served ปีการศึกษา 2550 จำนวน 100 ทุน สนับสนุนแบบ co-funding (สกว. : ต้นสังกัดของผู้ยื่นข้อเสนอโครงการ = 50 : 50)

  26. กำหนดเวลากิจกรรมของ MAG co-funding ปี 2550

  27. ส่วนประกอบข้อเสนอโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. • ส่วนหน้าปก เอกสารแนบ TRF-MS1 • บทสรุปย่อผู้บริหาร เอกสารแนบ TRF-MS2 • หนังสือยืนยันจากผู้ร่วมสนับสนุนที่เข้าร่วมโครงการ (ถ้ามี) เอกสารแนบ TRF-MS3 • ส่วนของข้อเสนอโครงการ ประกอบด้วย 4.1 ความเป็นมาและความสำคัญของเรื่อง สกว. ให้ความสำคัญตามนี้ • หัวข้อวิจัยโดยสังเขปที่กำหนดโดย สกว. และสถาบันการศึกษาต้นสังกัด • ความสำคัญและผลกระทบต่อสังคม • การพัฒนาลงสู่ระดับฐานรากของประเทศ • การพัฒนาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ • หัวข้อที่เกิดประโยชน์เชิงนโยบาย เชิงสาธารณะ และอาจมีโอกาสเกิดเทคโนโลยี ใหม่/ผลิตภัณฑ์ใหม่/การประยุกต์ใช้งานแบบใหม่ 4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ

  28. ส่วนประกอบข้อเสนอโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. (ต่อ) 4.3 แนวทางการทำวิจัย สกว. ให้ความสำคัญในประเด็นต่างๆ ดังนี้ • ความสำคัญและความจำเป็นของวิธีวิจัยที่นำเสนอซึ่งต้องแสดงความชัดเจนในการตรวจสอบผลงานวิจัยและสิทธิบัตรที่เกี่ยวข้อง • วิธีวิจัยที่เสนอเป็นวิธีที่มีความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหาเพื่อได้ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ 4.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับในเชิงความรู้พื้นฐานและการใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น เชิงนโยบาย เชิงสาธารณะ และพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ 4.5 แผนการทำงาน แสดงเป็น Gantt chart 4.6 งบประมาณ **(แยกหมวดค่าตอบแทน วัสดุ และใช้สอย แสดงรายละเอียดโดยสังเขป) ** 4.7 เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม

  29. ส่วนประกอบข้อเสนอโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. (ต่อ) 4.8 ภาคผนวก • ประวัติและผลงานของนักศึกษาหลักฐานการผ่านรายวิชาพื้นฐาน และการอนุมัติ โครงร่างวิทยานิพนธ์จากสถาบันการศึกษาต้นสังกัด • ประวัติและผลงานของอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) สกว. ให้ ความสำคัญใน3 ประเด็นดังนี้ - อาจารย์อยู่ในสาขาที่สอดคล้องกับหัวข้อวิจัยที่ทำ - อาจารย์มีประสบการณ์ในการปฏิบัติเกี่ยวกับหัวข้อวิจัยลักษณะนี้ - อาจารย์มีผลงานวิชาการเกี่ยวกับหัวข้อวิจัยลักษณะนี้ 4.9 อื่นๆเช่น ผลงานวิจัยที่ได้ในเบื้องต้น (ถ้ามี)

  30. ทุน Window IIสกว. ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาโท(สกว. 40,000 บาท + มหาวิทยาลัยต้นสังกัด 25,000 บาท)

  31. จำนวนข้อเสนอโครงการที่สมัคร ปี 2550

  32. ทุนวิจัยมหาบัณฑิตสกว. (ฝ่าย 3)“ด้านความแปรปรวน และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change)” 10-15 ทุน ใน 2 ประเด็น คือ 1. การศึกษาการปลดปล่อยและการกักเก็บก๊าซเรือนกระจก 2. การศึกษาปัจจัยภูมิอากาศและก๊าซเรือนกระจกต่อพืชเศรษฐกิจ http://www.trfmag.org

  33. โครงการทุนสกว. – บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม www.trfmag.org

  34. เงื่อนไขการให้ทุน 1. สาขาที่สนับสนุนได้แก่ สาขาวิศวกรรมโยธา และสาขาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม 2. การทำวิจัยจะต้องทำร่วมกับการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาโท โดยมีผลผลิตที่ นับได้คือ มหาบัณฑิต และผลงานวิชาการเผยแพร่ในที่ประชุมวิชาการ เป็น ผลผลิตขั้นต่ำ 3. ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสิทธิร่วมกันของ สกว. บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) สถาบันการศึกษาต้นสังกัดของอาจารย์ที่ปรึกษา และผู้ร่วม สนับสนุนอื่น (ถ้ามี)

  35. เงื่อนไขการให้ทุน (ต่อ) • ผู้เสนอขอรับทุนต้องเป็นอาจารย์ในสถาบันการศึกษาที่มีหลักสูตรมหาบัณฑิตสาขา • วิศวกรรมโยธาและสาขาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม • 5. ทุนที่จัดสรรให้มีระยะการทำวิจัยไม่เกิน 18 เดือน มีมูลค่าไม่เกิน 350,000 บาท โดย • แบ่งเป็นทุนการศึกษาจาก บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) แก่นักศึกษา • 100,000 บาท และทุนทำวิจัยจาก สกว. ไม่เกิน 250,000 บาท • 6. นักศึกษาผู้รับทุนต้องนำเสนอความก้าวหน้าของงานวิจัยทุก 6 เดือน • 7. บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) ยินดีสนับสนุนการใช้อุปกรณ์และ • ห้องปฏิบัติการของบริษัทเพื่อ การวิจัย

  36. ส่วนประกอบของข้อเสนอโครงการทุนสกว. – บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) (ต่อ) 1. หน้าปก แบบ SCC-TRF1 2. บทสรุปย่อผู้บริหาร แบบ SCC-TRF2 3. หนังสือยืนยันจากผู้ร่วมสนับสนุนอื่น (ถ้ามี) แบบ SCC-TRF3 เป็นหน้าที่ของผู้รับทุนที่จะต้องตกลงเรื่องผลประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญากับผู้ร่วม สนับสนุนก่อน ทั้งนี้สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยจะไม่มีส่วนเข้าไปร่วมไกล่เกลี่ย หากมีกรณีพิพาท (ทั้งนี้ สกว.และบริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) ขอสงวน สิทธิ์ในการพิจารณาผู้ร่วมสนับสนุนอื่น) 4. หนังสือรับรองการรักษาจรรยาบรรณในทรัพย์สินทางปัญญา แบบ SCC-TRF5

  37. ส่วนประกอบของข้อเสนอโครงการทุนสกว. – บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) (ต่อ) 5. ส่วนของข้อเสนอโครงการ แบบ SCC-TRF4 ประกอบด้วย 5.1 ความเป็นมาและความสำคัญของเรื่อง (ควรเขียนให้ชัดเจน หากไม่ใช่หัวข้อที่ กำหนดโดย สกว.) 5.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 5.3 แนวทางการทำวิจัย สกว. ให้ความสำคัญในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ - ความสำคัญและความจำเป็นของวิธีวิจัยที่นำเสนอ ซึ่งต้องแสดงความชัดเจน ในการตรวจสอบผลงานวิจัยและสิทธิบัตรที่เกี่ยวข้องว่าความรู้นั้นเป็นฐานแก่ การวิจัยนี้อย่างไร - วิธีวิจัยที่นำเสนอเป็นวิธีที่มีความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหาเพื่อได้ผลลัพธ์ตาม วัตถุประสงค์ และเป็นวิธีที่เหมาะสม

  38. ส่วนประกอบของข้อเสนอโครงการทุนสกว. – บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) (ต่อ) 5.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับในเชิงความรู้พื้นฐานและการใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ 5.5 แผนการทำงาน แสดงเป็น Gantt chart รายเดือน 5.6 งบประมาณจากบริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) 100,000 บาทและจาก สกว. ไม่เกิน 250,000 บาท แยกหมวด ค่าตอบแทน ค่าจ้าง ค่าวัสดุ และค่าใช้สอย ให้ ชัดเจน และต้องระบุรายการโดยสังเขป 5.7 เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม

  39. ส่วนประกอบของข้อเสนอโครงการทุนสกว. – บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) (ต่อ) 5.8 ภาคผนวก - ประวัติและผลงานของนักศึกษา การอนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์จาก สถาบันการศึกษา ต้นสังกัด (ถ้าผ่านการอนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์แล้ว) - ประวัติและผลงานของอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) สกว. ให้ ความสำคัญใน 3 ประเด็นดังนี้ • อาจารย์อยู่ในสาขาที่สอดคล้องกับหัวข้อวิจัยที่ทำ • อาจารย์มีประสบการณ์ในการปฏิบัติเกี่ยวกับหัวข้อวิจัยลักษณะนี้ • อาจารย์มีผลงานวิชาการเกี่ยวกับหัวข้อวิจัยลักษณะนี้ • อื่นๆ (ถ้ามี)

  40. กำหนดเวลากิจกรรมของโครงการทุนสกว.- บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) ปี 2550

  41. หัวข้อวิจัยที่กำหนด ปี 2550 • ด้านโยธา 3 โครงการ • ด้านสิ่งแวดล้อม 2 โครงการ • ด้านพลังงาน2โครงการ • ด้านโลจิสติกส์ 2 โครงการ

  42. โครงการพัฒนากำลังคนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมโครงการพัฒนากำลังคนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม ภายใต้ความร่วมมือ สกว. – สสว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2550

  43. เงื่อนไขของ industrial problem oriented 1. โจทย์วิจัยต้องได้จากอุตสาหกรรม โดยจะต้องปรากฏตัวตนของผู้ต้องการความรู้ชัดเจน และแสดงให้เห็นว่าความรู้นั้นสำคัญสำหรับกิจการอุตสาหกรรมนั้น 2. การทำโครงงานหรือวิจัยจะต้องมีส่วนทำที่สถานประกอบการ เพื่อบุคลากรอุตสาหกรรมมีส่วนร่วม หรือบุคลากรของอุตสาหกรรมเป็นผู้ทำวิจัยเอง เช่น เป็นนักศึกษาบัณฑิตศึกษา

  44. 1. ทุนระดับปริญญาตรี (IRPUS) เพิ่มจำนวนทุน • IRPUS แปลงปัญหาที่พบระหว่างฝึกงานมาเป็น final year project เพิ่มจาก 250 ทุน เป็น 850 ทุน • คาดว่า • มีอุตสาหกรรมเข้าร่วม 850 โครงการ • นักศึกษา 2,200 คน • อาจารย์ 800 คน • คนในอุตสาหกรรมเกี่ยวข้อง 2,000 คน • เกิด I-U Linkage ทำให้มีโครงการต่อเนื่อง 400 โครงการ

  45. ผู้รับผิดชอบ: รศ. ดร. วิโรจน์ บุญอำนวยวิทยา

  46. ทุนระดับปริญญาโท (MAG) เพิ่มจำนวนและเพิ่มเงินทุน

  47. ผู้รับผิดชอบ: รศ. ดร. อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ * ผู้ที่ส่งชื่อในรอบ 1 ไม่ทัน สามารถส่งในรอบที่ 2 ได้ ** หากมีทุนเหลือจากการพิจารณาในรอบที่ 2 อาจมีประกาศเพิ่มเติมสำหรับผู้สมัครในรอบที่ 1

More Related