520 likes | 733 Views
สวัสดี. รวมพลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด ในสถานศึกษา. 1. สถานการณ์ยาเสพติดประเทศไทย 1 กุมภาพันธ์ – 15 มิถุนายน 2546. - จับกุมผู้ค้ารายสำคัญ - จับกุมผู้รายย่อย - ผู้เสพรายงานตัว - จำนวนของกลางยาบ้า - มูลค่าทรัพย์สินที่ยึดอายัด - การดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
E N D
รวมพลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด ในสถานศึกษา 1
สถานการณ์ยาเสพติดประเทศไทยสถานการณ์ยาเสพติดประเทศไทย 1 กุมภาพันธ์ –15 มิถุนายน 2546 - จับกุมผู้ค้ารายสำคัญ - จับกุมผู้รายย่อย - ผู้เสพรายงานตัว - จำนวนของกลางยาบ้า - มูลค่าทรัพย์สินที่ยึดอายัด - การดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ - ผู้ค้ารายงานตัว 2,022คน 17,346 คน 291,321 คน 23.9ล้านเม็ด 1,967ล้านบาท 1,326คน 42,553 คน 2
สงครามยาเสพติด 1 กุมภาพันธ์ - 30 เมษายน 2546 • ราคายาบ้าสูงขึ้น / ผู้ค้ากักยารอขาย/ บางคนหันไปดมกาว/ยาอี/โคเคน • เกิดฆ่าตัดตอนผู้ค้ารายใหญ่ฆ่าผู้ค้ารายย่อย/ กระแสสิทธิมนุษยชนเข้าตรวจสอบ • ประชาชนชื่นชม รัฐบาลเอาจริง 3
นโยบายสงครามยาเสพติด โดย ศตส. เน้นจับกุมผู้ผลิต/ผู้ค้า/สกัดชายแดน กุมภาพันธ์ นำผู้เสพ/ผู้ติดรายงานตัวสมัครใจ มีนาคม ยึดทรัพย์จากผู้ค้า X-ray ทุกตารางนิ้วมิให้หลงเหลือ เมษายน ตรึงแนวชายแดนมิให้ลักลอบนำเข้า นำผู้เสพไปสมัครใจขอรับการบำบัด เร่งสอบสวนเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องให้ได้ผล 30 เมษายน 2546 ทำงานบูรณาการ/ปลุกพลังแผ่นดิน งานมีเจ้าภาพชัดเจนแต่ละด้าน 4
5 ผลงานปราบปรามประเมินโดย 3 หน่วยงาน สำนักงานสถิติแห่งชาติ ศตส สวนดุสิตโพล 1. ความพึงพอใจของ ประชาชนต่อผลงานรัฐบาล 86.7% 95.% 82.4% 2. เหตุผลที่พอใจ ผู้ติด/ผู้เสพ/ผู้ค้าลดลง ตัวยาลดลง ปัญหาชุมชนลดลง 3. ด้านการปราบปราม เห็นว่าเอาจริง จับยาบ้า+ผู้ค้าได้มาก ผู้ติดลดลงแต่เข้ารับ การบำบัดน้อย 4. ด้านผู้ติด 5. กลุ่มผู้มีโอกาสเสี่ยง กิจกรรมไม่มาก ขอให้มีแบบยั่งยืน แหล่งมั่วสุมลดลง
แนวทางต่อสู้ช่วงเดือน พฤษภาคม ถึง พฤศจิกายน 2546 เป้าหมายหลัก 1. การแพร่ระบาดยาเสพติดในระดับหมู่บ้าน/โรงเรียน/ โรงงาน หมดสิ้นโดยมีตัวชี้วัดการแพร่ระบาด 2. ประชาชนพึงพอใจสูงสุดต่อชัยชนะเพื่อทูลเกล้า ในหลวง 2 ธันวาคม 2546 6
ยุทธศาสตร์หลัก ของชาติ ยุทธศาสตร์การแก้ไข ตัวยา/ผู้ค้า(Supply) ยุทธศาสตร์แก้ไขในกลุ่ม ผู้มีโอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติด (Potential demand) ยุทธศาสตร์แก้ไข ปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด (Demand) 7
1. ทำลายโครงสร้าง/กลุ่มการค้ารายสำคัญ ยุทธศาสตร์ การแก้ปัญหา ตัวยา และผู้ค้า Supply 2.ควบคุมการแพร่ระบาดยาเสพติด ในพื้นที่ (ศตส.จ. / ศตส.อ.) 3. สกัดกั้นพื้นที่ชายแดน ควบคุมตัวยา / สารเคมี 4.ยุติการผลิตในต่าง ประเทศ 6.พัฒนาระบบข่าวเทคนิค การสืบสวน 5. ดำเนินการกับเจ้าหน้าที่รัฐ 8
1. X-ray พื้นที่เพื่อชักจูง/กดดันผู้เสพ/ ผู้ติด เข้าสู่ระบบการแก้ไขปัญหา ยุทธศาสตร์ การดูแลผู้เสพ/ติด (DEMAND) 2. นำผู้เสพเข้าสู่ระบบการฟื้นฟูพัฒนา 3. ผู้ติด - สมัครใจ -เข้าสู่ระบบสมัครใจ - ถูกจับ บังคับบำบัด - ถูกคุมขัง ต้องโทษ 4. ปรับทัศนคติเตรียมความพร้อมชุมชน ให้อาสาสมัครเข้าดูแลช่วยเหลือผู้เสพ/ผู้ติด คืน “ คนดีสู่สังคม” 5. ฝึกและส่งเสริมอาชีพ 9
1. สร้างภูมิต้านทานโดยการให้ การศึกษาให้ตระหนักโทษ/พิษภัย ยุทธศาสตร์ด้านป้องกัน ผู้มีโอกาสเข้าไปใช้ยา (potential demand) 2. ควบคุมแหล่งระบาด 3. จัดกิจกรรมในเชิงสร้างสรรค์ 4. สร้างครอบครัวและ ชุมชนให้เข้มแข็ง 10
บูรณาการแนวคิด แผน และ งบประมาณในส่วนกลาง ยุทธศาสตร์ บริหารจัดการ เพื่อบูรณาการ การแก้ไขปัญหา บูรณาการแผนงบประมาณ ในระดับจังหวัด บูรณาการการปฏิบัติการ ในระดับอำเภอ 11
สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในช่วง 3 เดือน (ก.พ - เม.ย) เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน ในเรื่องกลุ่มเป้าหมาย เน้นข้อ มูลเชิงปริมาณมากกว่าคุณภาพ ครอบครัวไม่เปิดเผย ความจริง การบูรณาการแก้ปัญหา ในพื้นที่ไม่ชัดเจน ผู้ป่วยไม่สะดวกไป รายงานตัวที่อำเภอ ไม่สดวกเดินทาง 12
ปัญหาที่คาดว่าจะเกิดในช่วงพ.ค - พ.ย • มีการจับกุมผู้รายงานตัวระหว่างบำบัด • ไม่เห็นความสำคัญของการบำบัด • ไม่กล้าเปิดเผย อายกลัวไม่ได้การยอมรับ • คิดว่ายาบ้าไม่ติด • เจ้าหน้าที่รับผลประโยชน์ในการยุติเรื่อง • ไม่ค้นหาทุกตารางนิ้ว • เปลี่ยนไปเสพอย่างอื่นแทน 13
การประเมินสถานการณ์ยาเสพติดการประเมินสถานการณ์ยาเสพติด 1. การลักลอบนำเข้า • การค้าการผลิต • การแพร่ระบาด • ราคายาเสพติด 14
วัดผลด้านDEMAND 1. จำนวนการจับกุมผู้ค้า 2. จำนวนที่ยึดยาบ้า 3. จำนวนผู้เสพผู้ติด 4. จำนวนยึดทรัพย์ 15
ด้านป้องกันผู้มีโอกาสเสี่ยง(Potential Demand) • จำนวนผู้ประสานพลังแผ่นดิน • เครือข่ายชุมชน • จำนวนครั้งการประชุม รายงาน • จำนวนกิจกรรม แผนงาน • ประเมินความพึงพอใจของชุมชน 16
การแก้ปัญหาผู้เสพ ผู้ติด 1. ระบบสมัครใจ 3. ระบบต้องโทษ ผู้แสดงตนว่าเป็นผู้เสพผู้ติด จำนวนที่บำบัด ผู้ได้รับการบำบัด จำนวนที่ปล่อยตัว 2. ระบบบังคับบำบัด จำนวนที่ติดตาม จำนวนผู้ต้องหาที่เข้ารับการพิสูจน์ จำนวนผู้ต้องหาที่เป็นผู้เสพผู้ติด /ที่ส่งคืนตำรวจอัยการ จำนวนที่เข้าฟื้นฟู/จำนวนที่ได้ติดตาม 17
เหตุผลที่ทำให้ค้ายา(ข้อมูลจาก กอ.รมน.) • มีหนี้สินมากต้องหาเงินปลดหนี้ 29% • อยากรวย โลภ ค้าเลียนแบบผู้อื่น 21% • ค้าเพราะยากจน 18% • ว่างงานไม่รู้จะประกอบอาชีพอะไร 11% • หาซื้อยาได้ง่าย ใกล้แหล่งขาย 10% • เพราะเสพ จึงขายให้มีเสพตลอด 8% • เจ้าหน้าที่รัฐเป็นใจ 3% 18
ทุกข์ของผู้ติดยา • กลัวตายก่อนเวลาอันควร 34% • สังคมรังเกียจ 20% • ครอบครัวแตกแยก 19% • หวาดระแวง หลบๆซ่อนๆ 18% • ไม่มีโอกาสใช้เงิน 7% • บุตรหลานติดยาบ้า 2% 19
เหตุผลที่เลิกค้ายาบ้าเหตุผลที่เลิกค้ายาบ้า • ขอทำความดีเพื่อในหลวงและแผ่นดิน 32% • ทำเพื่อครอบครัวอยู่พร้อมหน้า 21% • กลัวตาย พรากจากครอบครัว 15% • ยิ่งค้ายิ่งจน หาง่ายใช้ง่าย 14% • สังคมรังเกียจเลกคบ 12% • กลัวถูกยึดทรัพย์ 6% 20
แนวทางแก้ปัญหาผู้เสพผู้ค้าแนวทางแก้ปัญหาผู้เสพผู้ค้า • ตักเตือนชักชวนให้เลิก 45% • หากเลิกเสพไม่ได้ส่งไปรักษา เลิกค้าไม่ได้สังคมลงโทษ 18% • ถ้ายังไม่เชื่อฟังแจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจ 16% • ชี้ให้เห็นโทษของการค้าและเสพ 14% • ขับไล่ออกจากหมู่บ้าน 7% 21
เหุตผลที่อาจไปค้ายาอีกเหุตผลที่อาจไปค้ายาอีก • เป็นโจรในสันดาน 28% • ชุมชนไม่ยอมรับว่าเลิกแล้ว 21% • ไม่มีใครให้อภัย ถูกชวนค้าต่อ 19% • แก้ปัญหาหนี้สินไม่ได้ 15% • รายได้ไม่เพียงพอ 10% • เสพมาหนักไม่สามารถเลิก 4% • จิตใจไม่เข้มแข็ง 3 % 22
งานแก้ไขยาเสพติดในหมู่บ้านที่ได้ผลดีงานแก้ไขยาเสพติดในหมู่บ้านที่ได้ผลดี • จัดตั้งองค์กรเข้มแข็ง ประชุมต่อเนื่อง • ยอมรับผิด ขอขมาคนในหมู่บ้าน • ชักชวนผู้ค้าที่เหลือให้เลิกอย่างน้อย 4หรือ 5 คน • ร่วมกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้าน • จัดชุดเฝ้าระวัง ให้กลุ่มครอบครัวดูแลกัน • ให้ความร่วมมือทางราชการ • ขอหน่วยฝึกอาชีพมาฝึก 23
ผลสำรวจ ABAC POLL : คุณภาพอนาคตเยาวชนไทย เยาวชน อายุ 11-26 ปี, นักเรียน 21,450 คน นักศึกษา 43,666 คน จำนวนที่ใช้สำรวจ สำรวจในมกราคม 2546 - หลัง 30 เมษายน 2546 ภาค เหนือ ภาค กลาง กทม. ภาค อีสาน ภาค ใต้ รวม 1,359,473 ก่อนสงคราม 344,596 193,179 186,400 529,994 104,304 หลังสงคราม 444,307 95,526 71,977 40,876 99,525 136,403 24
25 แสดงผลประมาณการจำนวนเยาวชนที่ใช้ยาบ้าจำแนกตามช่วงเวลา “ก่อน” และ “หลัง”รัฐบาลประกาศสงครามกับยาเสพติด 641,436 59,970
26 แสดง 10 อันดับกิจกรรมสร้างสรรค์ที่ได้กระทำในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา • พบปะใช้เวลาว่างอยู่กับครอบครัว/ญาติพี่น้อง 96.2 • ติดตามข่าวสารประจำวันผ่านสื่อมวลชน 94.9 • เล่นกีฬา 91.1 • กิจกรรมเพื่อสังคม/สาธารณประโยชน์ 86.2 • กิจกรรมมทางศาสนา (เช่นทำบุญตักบาตร) 85.3 • ท่องเที่ยวตามแหล่งธรรมชาติ 80.7 • ทำงาน/รายได้พิเศษ 67.1 • อ่านหนังสือ/เข้าห้องสมุด 54.3 • เรียนพิเศษ 32.0 • เล่นดนตรี 21.1
แสดง 10 อันดับกิจกรรมที่ไม่สร้างสรรค์ และได้กระทำในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา 27 • ดื่มเบียร์ ไวน์ เหล้า เป็นต้น 37.1 • หนีเรียน ขาดเรียน 26.7 • ดูหนังสือ/อินเตอร์เน็ต ภาพยนตร์ที่ทำให้เกิดความรู้สึกทางเพศ 25.5 • ทะเลาะวิวาทกับนักเรียน/นักศึกษา 22.1 • เล่นการพนัน 21.3 • มีเพศสัมพันธ์ 17.4 • สูบบุหรี่ 15.4 • ลักขโมย 5.6 • ถ่ายภาพนายแบบ/นางแบบ 3.2 • ถ่ายภาพนู้ด 2.2
แสดงค่าร้อยละของเยาวชน ที่ระบุปัญหาสำคัญที่ทำให้เครียด หรือกลุ้มใจมากที่สุด 27.3 26.5 15.9 11.4 10.3 8.6 28
แสดงผลประมาณการจำนวนเยาวชนที่มีความโน้มเอียงในการขายบริการทางเพศแสดงผลประมาณการจำนวนเยาวชนที่มีความโน้มเอียงในการขายบริการทางเพศ 386,555 15,719,845 29
สถานการณ์เฉพาะและมาตรการดำเนินงานเน้นหนักในห้วงเดือนมิถุนายน 2546 สถานการณ์ปัญหา มาตรการ 1. ในสถานศึกษา 1.1 เป็นช่วงเปิดเทอม นร./นศ. เปลี่ยน สถานที่เรียน เปลี่ยนชั้นเรียน มี โอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด - สำรวจข้อมูลและจัดทำทะเบียน ประวัติ เพื่อคัดกรอง พร้อมทั้งนำ เข้าสู่กระบวนการดูแลที่เหมาะสม 1.2 มี นร./นศ. ส่วนหนึ่งอาศัยใน หอพักมีโอกาสชักจูงเข้า เกี่ยวข้องกับยาเสพติด - ร่วมกันดำเนินการสำรวจ ตรวจเยี่ยมระหว่างผู้ประกอบการ หอพักสถานศึกษาและผู้ปกครอง มาตรการด้าน Potential Demand (เสนอโดย ศตส.) 30
นโยบาย รมว. ศธ. เอาชนะสงครามยาเสพติด 1. นำกระแสพระราชดำรัสมาปลุกจิตสำนึก ร่วมต่อสู้ พิษภัย ของยาเสพติด 2. ปฏิรูปการสอนให้ผู้เรียน คิด /ทำ มีเหตุผล 3. จัดระบบดูแลเฝ้าระวังผู้บริสุทธิ์ไม่ให้พลัดหลงเข้าวงจร ยาเสพติด 4. จัดระบบสอดส่องให้คำปรึกษา ไม่ออกเคหะสถานหลัง 22.00 น. 31
นโยบาย รมว. ศธ. เอาชนะสงครามยาเสพติด 5. ปรับสภาพแวดล้อม ร่มรื่น สร้างเครือข่าย ชุมชนเข้มแข็ง 6. ดูแลนักเรียนที่เสพ/ติด เป็นผู้ป่วย ไม่ไล่ออก ส่งไปบำบัดทุกราย 7. ดำเนินการทางวินัย และกฎหมาย ครู และบุคลากรที่ค้า ยาเฉียบขาด 8. ผู้บริหารต้องรับผิดชอบเอาใจใส่ หากมีผู้เสพ/ติด/ค้า ต้องแก้ไข 9. ใช้ผลงานแก้ปัญหายาเสพติด พิจารณาความดีความชอบ/ เลื่อน/ย้ายดีขึ้น 10. ผู้บริหารรดับสูงและผู้ตรวจราชการช่วยกำกับติดตาม 32
ยุทธศาสตร์เอาชนะยาเสพติดยุทธศาสตร์เอาชนะยาเสพติด ของกระทรวงศึกษาธิการ การป้องกันกลุ่มผู้มี โอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติด และสร้างภูมิต้านทาน (Potential Demand) การบำบัดรักษาฟื้นฟู สมรรถภาพและพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้เสพ ผู้ติดยา (Demand) การปราบปรามผู้ผลิต/ผู้ค้า ยาเสพติด (Supply) ยุทธศาสตร์ การป้องกัน ยุทธศาสตร์ การแก้ปัญหา ยุทธศาสตร์ บริหารและควบคุม 33
34 ยุทธศาสตร์การป้องกัน มาตรการสร้างภูมิคุ้มกัน มาตรการจัดระเบียบนักเรียน มาตรการเสริมแรง 1. จัดการเรียนการสอนที่ฝึก ผู้เรียนคิดและทำอย่างมีเหตุผล (ทักษะชีวิต) 2. จัดกิจกรรมทางเลือก เช่น ศิลป์ ดนตรี กีฬา ลูกเสือ ชมรมวิชาการ 3. จัดกิจกรรมหลังเวลาเรียนโดย สนับสนุนนักเรียนเป็น ผู้จัดกิจกรรม 4. จัดกิจกรรมรวมพลังสร้าง สาธารณประโยชน์ 5. จัดกิจกรรม To Be Number One 6. จัดกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน 7. สร้างเครือข่ายครอบครัว/ ชุมชนเข้มแข็ง. 1. จัดระเบียบสภาพแวดล้อมนอก โรงเรียนให้ปลอดภัย 2. กวดขันไม่ให้นักเรียน นักศึกษา มั่วสุมสถานเริงรมย์/พฤติกรรมเสี่ยง 3. กำกับไม่ให้นักเรียนออกนอก เคหะสถานหลัง 22.00 น. 4. จัดระเบียบหอพักเพื่อปรับสภาพ สังคมความเป็นอยู่ที่ดีของนักเรียน/ นักศึกษา 5. มีอาจารย์แนะแนวประจำโรงเรียน เพื่อให้คำปรึกษา 1.. ให้สถานศึกษาประเมินผลงานตนเอง 2. ให้รางวัลยกย่องชมเชยครู/ ผู้บริหาร นักเรียนที่ทำดี 3. เชิญชวนให้เข้าร่วมประกวดกิจกรรม ต่อต้านยาเสพติด 4.. จัดพิมพ์เอกสาร/นิทรรศการ เผยแพร่ ผู้มีผลงานดีเด่น 5. พาไปทัศนศึกษา/เยี่ยมชมผลงาน ขอลสถานศึกษา/หน่วยราชการอื่นๆ ต้านยาเสพติด
35 ยุทธศาสตร์การแก้ปัญหา มาตรการดูแลจัด ระบบช่วยเหลือ มาตรการเฝ้าระวัง และฟื้นฟู มาตรการบำบัด ดูแลเบื้องต้น 1. จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และบริการให้คำปรึกษา 2. สร้างเครือข่ายครอบครัว/ชุมชน เข้ามาร่วมมือ 3. ขอความร่วมมือตำรวจช่วย ประสานงานประจำสถานศึกษา 1 นาย 4. ไม่ปกปิดข้อเท็จจริงแต่ช่วย ปกปิดประวัติ 5. ไม่ประณามผู้เสพ/ผู้ติด 1. จัดการบำบัดสำหรับกลุ่มเสพ/ กลุ่มติดโดยแยกจากกัน 2. จัดจิตสังคมบำบัดในโรงเรียน สำหรับผู้เสพ 3. จัดส่งไปรักษาที่สถานพยาบาล สำหรับผู้ติด 4. เอื้ออาทรต่อผู้ติดยา 5. ฟื้นฟูสภาพจิตใจหลังการบำบัดแล้ว 6. ประสานผู้ปกครองร่วมมือฟื้นฟู จิตใจเมื่ออยู่บ้าน 7. กิจกรรมดูแลผู้เสพ/ผู้ติดร่วมกับ ผู้ปกครองและชุมชนถือเป็นผลงาน ที่ดี 1. จัดสารวัตรนักเรียนภายใน ตรวจสอบเพื่อนนักเรียน 2. จัดระบบฐานข้อมูลทุกห้องเรียน 3. ครูประจำชั้นเยี่ยมบ้านนักเรียน เพื่อให้กำลังใจ 22
36 ยุทธศาสตร์การบริหารและควบคุม การบริหารจัดการในส่วนของนักเรียน นักศึกษา มาตรการคัดกรอง มาตรการตรวจสอบบุคลากร มาตรการกำกับติดตามและรายงานผล 1. จำแนกผู้เสพออกจาก ผู้ติดยาเสพติดวิธีการสังเกต อาการ 2. สำรวจจำนวน นร./นศ.ที่เสพ/ ติด/ค้ายา ณ วันที่ 1 มี.ค. และ 1 ก.ค. 2546 3. จัดทำบัญชีผู้เกี่ยวข้อง ยาเสพติดเป็นประวัติบุคคล 1. ประสานขอขัอมูลจาก ศตส.จ. ศตส.อ. ขอเบาะแสจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. ตรวจปัสสาวะเพื่อการสำรวจ กลุ่มเสี่ยงและติดตามตรวจสอบ ผู้รับการบำบัด 3. รายงานผลบุคลากรที่รับรองได้ ว่าไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติดอีก 1. วิเคราะห์วิจัย ปัญหา/อุปสรรค การพัฒนาเพื่อให้งานดีขึ้น 2. รายงานผลการดำเนินงานให้ ผู้ปกครอง/ผู้บริหารตามสายงาน 3. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ให้ สาธารณชนทราบความก้าวหน้า
37 ยุทธศาสตร์การบริหารและควบคุม การบริหารจัดการในส่วนของครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องยาเสพติด มาตรการจัดการกับผู้ค้ายา มาตรการจัดการกับผู้เสพ/ผู้ติด 1. ตั้งกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงทุกราย 2. คดีมีมูลให้ตั้งกรรมการสอบสวน 3. ในขณะสอบสวนให้พิจารณาสั่งพัก/ให้ออกจาก ราชการไว้ก่อน / ย้ายออกนอกพื้นที่แล้วแต่กรณี 4. หากตำรวจจับกุมให้สั่งพักราชการทันที 5. ตำรวจสืบและยังบาดหลักฐาน แต่แจ้งเป็น ลายลักษณ์อักษรสั่งช่วยราชการนอกพื้นที่ 6. อัยการได้ฟ้องคดี ศาลลงโทษตั้งแต่จำคุกขึ้นไป ให้สั่งไล่ออกฐานผิดวินัยร้ายแรง 1. ดำเนินการทางวินัย 2. งดความดีความชอบครั้งนั้น 3. ส่งให้แพทย์ตรวจและบำบัด 4. กรณีผู้บริหารให้พ้นจากการปฏิบัติงานโดยพลัน
มาตรการให้รางวัลจูงใจผู้มีผลงานดีเด่นมาตรการให้รางวัลจูงใจผู้มีผลงานดีเด่น แก้ปัญหายาเสพติด 1. พิจารณาความดีความชอบ 1 ขั้น ต่อครั้ง หรือค่าตอบแทน 4 % โดยไม่มีเงื่อนไข 2. หากประสบภัยจากการปฏิบัติงานจะได้เงิน ค่าทำขวัญ/รางวัลพิเศษ ตามพรบ.สงเคราะห์ ข้าราชการฯ พ.ศ. 2498 และระเบียบ สำนักนายกฯว่าด้วยการบำเหน็จความชอบฯ พ.ศ. 2521 38
มาตรการให้รางวัลจูงใจผู้มีผลงานดีเด่นมาตรการให้รางวัลจูงใจผู้มีผลงานดีเด่น แก้ปัญหายาเสพติด 3. พิจารณาแต่งตั้งเป็นผู้บริหารสถานศึกษาที่ดีขึ้น 4. ได้รับเงินรางวัลประจำปี 5. ได้รับรางวัลข้าราชการดีเด่น/ข้าราชการตัวอย่าง 6. มอบเหรียญพลังแผ่นดิน 39
มาตรการลงโทษ • ตำรวจจับกุมสั่งพักราชการทันที • ตำรวจสืบไม่มีหลักฐาน แต่แจ้งมาเป็นลายลักษณ์อักษร สั่งให้ช่วยราชการนอกพื้นที่ • อัยการได้สั่งฟ้องคดี ศาลลงโทษตั้งแต่จำคุก ให้สั่งไล่ออก ฐานผิดวินัยร้ายแรง • ตั้งกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง/คดีมีมูลตั้งกรรมการ สอบสวนทุกราย กรณีเป็นผู้ค้า • ดำเนินการทางวินัย • งดความดีความชอบ • ส่งตัวให้แพทย์ตรวจ • กรณีผู้บริหารให้พ้นจากการปฏิบัติโดยพลัน กรณีเป็นผู้ค้า 40
ผลการดำเนินงาน ครู บุคลากร เกี่ยวข้องยาเสพติด 41 สปช. 188 คน กรมสามัญศึกษา 29 คน 217 คน เสียชีวิต 4 ราย การตรวจสอบเบื้องต้น ยุติเรื่อง 39 คน ไม่เป็นข้าราชการในสังกัด 3 ราย สปช. (143) อยู่ระหว่างสืบสวน 21 คน ไล่ออก 12 ราย อยู่ระหว่างสอบสวน 24 คน ปลดออก 7 ราย สอบสวนแล้วลงโทษทางวินัย ให้ออก 1 ราย อยู่ระหว่างการพิจารณาโทษ ทางวินัย 2 ราย ลดขั้นเงินเดือน 6 คน ตัดเงินเดือน 5 % 1 เดือน 6 ราย ตัดเงินเดือน 5 % 2 เดือน 5 ราย ยังไม่ทราบผลการดำเนินการจาก สปจ. 9 ราย ภาคทัณฑ์ 3 ราย เลิกจ้าง 1 ราย (ข้อมูล ณ 6 พฤษภาคม 46)
ผลการดำเนินงาน ครู บุคลากร เกี่ยวข้องยาเสพติด 42 ยุติเรื่องย้ายออกนอกพื้นที่ 2 ราย อยู่ระหว่างดำเนินการทางวินัย ให้ออกจากราชการไว้ก่อน 1 ราย กรมสามัญศึกษา (29) สั่งพักราชการ 3 ราย ย้ายออกนอกพื้นที่ 1 ราย ลาออกจากราชการ 1 ราย อยู่ระหว่างการสืบสวน 2 ราย อยู่ระหว่างการสืบสวนเพิ่มเติม 4 ราย อยู่ระหว่างกรมฯไม่มีมูลติดตามพฤติกรรม 8 ราย อยู่ระหว่างเสนอกรมฯไม่มีมูล 6 ราย รอผลคดีอาญาให้ออกราชการไว้ก่อน 1 ราย (ข้อมูล ณ 6 พฤษภาคม 46)
ข้อมูลสำรวจนักเรียนที่เกี่ยวข้องยาเสพติดจาก 75 จังหวัด ณ วันที่ 1 มกราคม 2546 จำนวน 9,633,124 คน กำลังปรับปรุง กลุ่มใหม่ 1. กลุ่มผู้เสพ 2.กลุ่มผู้ติด 3. กลุ่มสงสัยค้ายา 1. กลุ่มไม่เคยใช้ยา 9,690,050 คน 97.48 % 2. กลุ่มเคยใช้เลิกแล้ว 36,771 คน 0.38 % 3. กลุ่มยังใช้ยาอยู่ 17,692 คน 0.18 % 4. กลุ่มติดยาบำบัดหายแล้ว 7,584 คน0.08 % 5. กลุ่มสงสัยค้ายา 2,355 คน 0.02 % 6. กลุ่มใช้เหล้า/บุหรี่ 178,672 คน1.87 % 43
แนวทางการดำเนินงานต่อสู้เอาชนะยาเสพติดแนวทางการดำเนินงานต่อสู้เอาชนะยาเสพติด ของกระทรวงศึกษาธิการ ปี2546 1. รวมพลังแผ่นดิน : ปฏิญาณตนไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด 27 มกราคม 2546 2. กำหนดนโยบาย/แนวกำกับ/ยุทธศาสตร์ 3. จัดระบบข้อมูล ปรับแบบสำรวจโดยใช้แบบ บสต.1/1 บสต.2 บสต.3 บสต.4 บสต.5 ตามข้อเสนอของ ศตส.ช. ส่ง 1 มีนาคม และ 30 กันยายน ปีละ 2 ครั้ง 4. กำหนดมาตรการให้รางวัล/ลงโทษเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องยาเสพติด 44
แนวทางการดำเนินงานต่อสู้เอาชนะยาเสพติดแนวทางการดำเนินงานต่อสู้เอาชนะยาเสพติด ของกระทรวงศึกษาธิการ (ต่อ) 5. ปรับระบบคัดกรองให้เพิ่มประสิทธิภาพโดยตรวจปัสสาวะ สปช. เด็ก ม.1 เข้าใหม่ทุกคนใช้ตรวจสุขภาพ สศ. อศ. ตรวจเฉพาะกลุ่มเสี่ยงโดยขอความร่วมมือ สธจ. สช. 6. จัดมหกรรมTO BE NUMBER ONE 9 มิ.ย. 46 ที่ อินดอร์สเตเดี้ยม หัวหมากจำนวน 10,000 คน 7. รายงานผลงานต่อสาธารณชนทุกระยะ 45
แนวทางกำกับติดตามงานสงครามแนวทางกำกับติดตามงานสงคราม เอาชนะยาเสพติด ของ กระทรวงศึกษาธิการ 1. รมว. ศธ. แจ้งนโยบายกรม/ ผู้ตรวจราชการ/จังหวัด/โรงเรียน 2. กรม สั่งการ / ติดตามสถานศึกษา 46
1. ทราบ/เข้าใจ ลงมือทำ 2. จัดระบบคัดกรอง 3. จัดทำข้อมูล 4. จัดกิจกรรมทุกกลุ่ม 5. เยี่ยมบ้านนักเรียนกลุ่มเสี่ยง 6. ส่งรายชื่อโรงเรียนที่มี นักเรียนเกี่ยวข้องยาเสพติด เกิน 2 % 7. จัดระบบส่งบำบัด 8. ยกย่องโรงเรียนผลงานดีเด่น 9. รายงานปัญหาอุปสรรค 3. ศธจ. ผอ.ปจ. สศจ. อาชีวจังหวัด สถานศึกษา 47
4. ผตร. ประชุม/ติดตาม/รายงาน โรงเรียนดีเด่น ภายใน 30 เมษายน 2546 5. กระทรวงศึกษาธิการ ทำงานร่วมกับจังหวัด ตำรวจ ติดตามกลุ่มเสี่ยงช่วงปิดเทอม + จัดระเบียบสังคม 6. กระทรวงศึกษาธิการ จัดระบบรางวัล / ลงโทษ 48