150 likes | 256 Views
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา. โดย. ผู้จัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา. หัวข้อหลักในการบรรยาย. ● นโยบายด้านการให้กู้ยืม ● นโยบายด้านการชำระหนี้ ● การสร้างความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ. ● นโยบายด้านการให้กู้ยืม.
E N D
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา โดย ผู้จัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
หัวข้อหลักในการบรรยายหัวข้อหลักในการบรรยาย ● นโยบายด้านการให้กู้ยืม ● นโยบายด้านการชำระหนี้ ● การสร้างความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ
●นโยบายด้านการให้กู้ยืม●นโยบายด้านการให้กู้ยืม ๐ จะมุ่งเน้นที่การผลิตบัณฑิตที่สอดคล้องกับตลาดแรงงานทั้งปริมาณและคุณภาพในระดับอาชีวศึกษาและปริญญาตรี ๐ระดับอาชีวศึกษา สนับสนุนการให้กู้ยืมแก่ผู้กู้ทุกสาขาวิชา ๐ระดับปริญญาตรีจะสนับสนุนให้ผู้กู้ยืม เรียนในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น โดยกำหนดสัดส่วนการให้กู้ยืมในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ :สังคมศาสตร์ ในอัตรา 50 : 50 ๐ สถานศึกษาจะต้องยกระดับการจัดการการศึกษาให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อผลิตทรัพยากรบุคคลที่มีความสามารถในการพัฒนาประเทศ
●นโยบายด้านการชำระหนี้●นโยบายด้านการชำระหนี้ ๐ การขอความร่วมมือจากสถานศึกษาในการกระตุ้นเตือนหรือสร้างกลไกในการสร้างจิตสำนึกให้กู้ยืมมาชำระหนี้คืน กยศ. ๐ การขอความร่วมมือจากสถานศึกษา เพื่อให้มีข้อมูลของผู้กู้ยืมที่ครบถ้วน เช่น เบอร์โทรศัพท์และที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ สถานที่ทำงาน จบการศึกษาเมื่อไหร่ และจบสาขาวิชาใด เป็นต้น
● การสร้างความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ O การสร้างอาชีพให้กับผู้กู้ยืม กยศ. ได้ร่วมมือกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย(วว.) ดำเนินโครงการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ด้วยงานด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้กู้ยืม กยศ. ที่ต้องการเป็นผู้ประกอบการรายใหม่ โดยเริ่มในปี พ.ศ. 2555 เป็นปีแรก ในปีนี้ จะดำเนินการฝึกอบรม ในเดือน สิงหาคม 2556 และขอให้สถานศึกษาแจ้งผู้กู้กองทุนเพื่อให้สมัครเข้าร่วมโครงการ
O ความร่วมมือกับองค์กรเครือข่ายในการสร้างจิตสำนึกและความรับผิดชอบทางการเงินให้กับแก่ผู้กู้ยืม องค์กรเครือข่าย ได้แก่ - หอการค้าไทย - สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย - สมาคมธนาคารไทย - CSR Club ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - สถาบันคลังสมองของชาติ - ศูนย์คุณธรรม เป็นต้น
O ผู้กู้ต้องรู้จักวางแผนทางการเงินของตนเองและครอบครัว โดยกองทุนจะให้ความรู้ด้านการเงินส่วนบุคคลให้กับผู้กู้ยืมและผู้ปฏิบัติงานกองทุนในสถานศึกษา - เพื่อให้ผู้กู้ยืมรู้คุณค่าของเงินให้กู้ยืม - เพื่อให้ผู้กู้ยืมสามารถวางแผนการใช้เงินกู้ยืมและวางแผนการชำระหนี้ได้อย่างเป็นรูปธรรม
เส้นทางเศรษฐี คนจน ขาดทุน เส้นแบ่งความจน เอากำไรไปก่อหนี้ ชนชั้นกลาง เส้นแบ่งความรวย เอากำไรไปลงทุน คนรวย
มาวางแผนทางการเงินกันเถอะ มาวางแผนทางการเงินกันเถอะ รู้จักการวางแผนทางการเงิน œการรู้จักวางแผนในเรื่องการเงินของตนเองและครอบครัวอย่างเหมาะสม œเกี่ยวข้องกับเรื่องรายได้ รายจ่าย การจัดการหนี้สิน การออม การลงทุน ภาษี รวมไปถึงการรู้จักเตรียมตัวป้องกันความเสี่ยงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น
ทำไมต้องวางแผนการเงิน?ทำไมต้องวางแผนการเงิน? ๏ อายุยืนขึ้น ๏ ขนาดของครอบครัวลดลง ๏ ภาระค่าใช้จ่ายในชีวิตเพิ่มขึ้น
สาเหตุที่คนส่วนใหญ่ไม่วางแผนทางการเงินสาเหตุที่คนส่วนใหญ่ไม่วางแผนทางการเงิน • คิดว่าตนเองมีฐานะการเงินมั่นคงดีอยู่แล้ว • คิดว่าตัวเองมีรายได้เพียงพอสำหรับภาระค่าใช้จ่ายรายวันแล้ว • ลืมไปว่าคนเองอาจมีโอกาสเจอกับมรสุมชีวิตบ้างในอนาคต เช่น การว่างงาน ประสบอุบัติเหตุ เสียชีวิต เป็นต้น • ไม่มีเวลาที่จะจัดทำแผนการเงินของตนเอง • คิดว่าการวางแผนการเงินเหมาะสำหรับผู้ที่ใกล้เกษียณอายุเท่านั้น
รายได้ที่จะได้รับ (Revenue)
รายจ่าย (Expenses) ค่าใช้จ่ายที่สำคัญได้แก่ • เงินออมสำหรับแผนการในอนาคต • ค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค • ให้บิดามารดา • เงินสำรองฉุกเฉิน • ภาระหนี้สิน • ค่าใช้จ่ายเพื่อประกันความเสี่ยง
ตัวอย่างเช่น นาย ก. เป็นผู้กู้ยืม กยศ. จบการศึกษาระดับปริญญา มีรายได้ 15,000 บาทต่อเดือน มีหนี้ตามสัญญา กยศ. ทั้งสิ้น 100,000 บาท
ภาระหนี้สิน รู้หรือไม่.. อย่างไรจึงจะเรียกว่าไม่กู้เกินตัว? กฎ 10 จำนวนหนี้ที่ต้องชำระไม่ควรเกิน 10 % ของรายได้สุทธิต่อเดือน