100 likes | 552 Views
เจ้าพระยาบดินทร เดชา(สิงห์ สิง หเสนี ). เมนู. เมนู. ประวัติ. วีรกรรม. ผลงาน. อนุสรณ์สถาน. ประวัติ.
E N D
เจ้าพระยาบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี) เมนู
เมนู ประวัติ วีรกรรม ผลงาน อนุสรณ์สถาน
ประวัติ • เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นบุตรคนที่4 ของเจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น) กำเนิดแต่คุณหญิงฟักเมื่อปีระกา พ.ศ.2320 ตรงกับปลายรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสถานที่เกิดอยู่ในเขตพระนครตอนเชิงสะพานช้างโรงสี หน้ากระทรวงมหาดไทยทุกวันนี้ กลับ
วีรกรรม • ในปลายรัชกาลที่๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ญวนชิงเมืองกัมพูชาไปจากไทย • ครั้นปีพุทธศักราช๒๓๗๖ ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ขุนนางญวนที่ปกครองเมืองไซง่อนของญวนเกิดกบฏต่อประเทศญวนและขอความช่วยเหลือจากไทย • พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริเห็นเป็นโอกาสที่จะชิงกัมพูชาจากญวนจึงโปรดเกล้าให้ เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) กลับ
ผลงาน • นามเดิมท่านคือ สิงห์ สิงหเสนี ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๓ท่านเจ้าพระยาบดินทรเดชานับเป็นขุนพลแก้วคู่พระราชบัลลังก์ที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงยกย่องอยู่ตลอดเวลาผลงานที่นับว่ายิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ของไทยของท่าน คือ สามารถปราบกบฎเวียงจันทน์จนได้ตัวเจ้าอนุวงศ์มาสำเร็จโทษและตีญวนที่เข้ายึดครองกัมพูชา
เป็นแม่ทัพใหญ่คุมกองกำลังทัพบกและให้เจ้าพระยา พระคลังหน (ดิศ บุนนาค) เป็นแม่ทัพเรื่อไปสมทบที่หลังกับกองทัพเรื่อบกตีเมืองไซ่ง่อน • กองทัพไทยไม่สามารถที่จะสู้รบกับกองทัพญวนที่กำลังเหนือกว่ามากจึงจำต้องถอยทัพกลับ • เจ้าพระยาบดิทรเดชาวางกลยุทธ์ ในการถอยทัพให้ปลอดภัย • ให้กองทัพญวนที่ไล่ตรามมาได้รับความเสียหายยับเยิน ไม่สามารถทำลายกองทัพไทยได้ กลับ
ให้กลับสู่พระบรมโภธิสมภารดังเดิมทำให้แผ่นดินไทยมีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลและท่าน ยังเป็นบคคลสำคัญเพียงท่านเดียวที่มีอนุสาวรีย์อยู่นอกเขตไทย คือตั้งอยู่ที่ประเทศกัมพุชา ท่านถึงอสัญยกรรมเมื่อ พ.ศ ๒๓๙๘ กลับ
อนุสรณ์สถาน • 1)เมืองอุดงมีชัย ประเทศกัมพูชา • 2)วัดจักวรรดิราชาธิวาส • 3)โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) • 4)วัดมหาธาตุ อ.เมือง จ.ยโสธร • 5)ค่ายบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) • 6ค่ายเจ้าพระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) • 7)ค่ายบดินทรเดชา กรมทหารราบที่16 อ.เมือง จ.ยโสธร กลับ
ภาคผนวก กลับ
จัดทำโดย • ด.ญ.อรทัย สิทธิปัญญา • ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๒ เลขที่ ๔๑ • โรงเรียนแก่งคอย • เสนอ • คุณครูจริญญา ม่วงจีน