1 / 18

ที่มาและความสำคัญ

แนวทางปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการสี่ปี กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 เพื่อเป็นกรอบการจัดสรรงบประมาณประจำปี 2557. ที่มาและความสำคัญ.

Download Presentation

ที่มาและความสำคัญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการสี่ปีกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558เพื่อเป็นกรอบการจัดสรรงบประมาณประจำปี 2557

  2. ที่มาและความสำคัญ • มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 24 กรกฎาคม 2555 กำหนดให้ทุกส่วนราชการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นในสำนักงานปลัดกระทรวงทุกกระทรวง และให้ดำเนินการปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการสี่ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของส่วนราชการ โดยเพิ่มประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมธรรมาภิบาลให้สมบูรณ์ ตามกรอบยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น • มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 2 พฤศจิกายน 2555 เรื่อง การบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) เพื่อเป็นกรอบการจัดสรรงบประมาณประจำปี 2557 และผลการประชุมเชิงปฏิบัติการการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ครั้งที่ 2 • ข้อจำกัดในการแปลงแผนปฏิบัติราชการสี่ปี กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 ไปสู่การปฏิบัติที่พบจากการประเมินยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ซึ่งกระทรวงยุติธรรมมีผลการดำเนินงาน และการใช้จ่ายเงินงบประมาณอยู่ในระดับต่ำ และการดำเนินการตามพันธกิจย่อยในด้านการพัฒนาการคุณภาพการดำเนินงานตามพันธกรณีระหว่างประเทศ และมาตรฐานระบบงานยุติธรรม ยังไม่มีผลการดำเนินงานที่ชัดเจน

  3. ประเด็นท้าทายภายนอก ประเด็นท้าทายภายใน แผนปฏิบัติราชการสี่ปี กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 ยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ประสิทธิผลในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ในภาพรวมอยู่ในระดับต่ำ วิสัยทัศน์ “หลักประกันความยุติธรรมตามมาตรฐานสากล” • การปลุกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักรู้ • การพัฒนาองค์กร • การเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วม • การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย • การตรวจสอบ เฝ้าระวังเชิงรุก • การปราบปรามอย่างจริงจังและการลงโทษที่เข้มงวด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบงานยุติธรรมและการอำนวยความยุติธรรมตามมาตรฐานสากล การใช้จ่ายงบประมาณต่ำกว่าเป้าหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เร่งรัดพัฒนาระบบงานยุติธรรมทางเลือก ยุทธศาสตร์ประเทศ • ระบบยุติธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ • กรอบแนวทางการปฏิรูปกฎหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบการจัดการภายในองค์การ บางภารกิจ เช่น การพัฒนาระบบงานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และการนำนวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนาระบบงาน ยังไม่มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาระบบงานยุติธรรมและกฎหมาย ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ • การเสริมสร้างความมั่นคง (เครือข่ายความร่วมมือ) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน และพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระบบงานยุติธรรม

  4. สถานการณ์และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมสถานการณ์และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม • การรับแจ้งคดีประทุษร้ายต่อชีวิตร่างกาย และคดีประทุษร้ายต่อทรัพย์มีแนวโน้มลดต่ำลง • การจับกุมคดียาเสพติดเพิ่มสูงขึ้นมากอย่างรวดเร็วส่งผลให้มีผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมเพิ่มสูงขึ้นมาก • ปริมาณผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณามีสัดส่วนสูงมาก (เฉลี่ยร้อยละ 26.3) • การจับกุมเด็กและเยาวชนกระทำผิดน้อยลงมากอย่างเห็นได้ชัดภายหลังการประกาศใช้พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณา คดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 • งานคุมประพฤติและการดำเนินมาตรการเลี่ยงโทษจำคุก (Diversion) ทำให้ปริมาณงานของกรมคุมประพฤติเพิ่มสูงขึ้นมาก ในขณะที่สัดส่วนกำลังพลและงบประมาณไม่เปลี่ยนแปลง • ภาพรวมบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่งบประมาณในกระบวนการยุติธรรมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ที่มา สำนักงานกิจการยุติธรรม, เอกสารประกอบการประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อการจัดทำแผนแม่บท การบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2556 – 2559

  5. ผลกระทบจากประชาคมอาเซียนผลกระทบจากประชาคมอาเซียน • ปัญหาความมั่นคงรูปแบบใหม่ (Nontraditional Security Issues) เช่น ปัญหายาเสพติดอาชญากรรมข้ามชาติ การลักลอบนาเข้า/เคลื่อนย้ายสินค้าผิดกฎหมาย เป็นต้น ซึ่งเป็นปัญหาที่สามารถ แอบแฝงมากับการลงทุน หรือการทาการค้ากับต่างประเทศ • การลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่จากภาครัฐและเอกชน ดังนั้น จึงเป็นโอกาสให้เกิดการเคลื่อนย้ายของแรงงานต่างด้าวทั้งที่ถูกและผิดกฎหมายจากประเทศอื่นเข้ามาทางานรับจ้างเป็นแรงงานให้กับผู้ประกอบการภายในประเทศมากขึ้น • การประกอบอาชีพของประชาชนภายใต้สภาพแวดล้อมทางการค้า การลงทุน การบริการ และการเคลื่อนย้ายแรงงานวิชาชีพเสรีก่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายฐานการผลิต ย่อมก่อให้เกิดความตึงเครียด และปัญหาสังคมอื่นตามมาได้ เช่น การเรียกร้องการประท้วงของเกษตรกร การสูญเสียรายได้การถูกเลิกจ้างหรือเปลี่ยนอาชีพใหม่ เป็นต้น • ความเหลื่อมล้ำทางสังคมการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในพื้นที่ชายแดน โรงงาน สถานประกอบการ หรือพื้นที่ชุมชนซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการพัฒนาโดยรวม • การพัฒนาทางเศรษฐกิจย่อมมีผลกระทบต่อสังคมในด้านอื่นๆ เช่น สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิตชุมชน จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนากลไกการจัดความขัดแย้งระหว่างภาครัฐ/ภาคเอกชนกับประชาชนหรือระหว่างประชาชนด้วยกันเอง รวมถึงความขัดแย้งระหว่างบริษัทต่างชาติกับประชาชนในพื้นที่ เป็นต้น • อาเซียนต้องปรับตัวให้เข้ากับมาตรฐานอื่นๆ ที่เป็นสากล ในลักษณะกฎเกณฑ์ระเบียบ กฎหมาย และรวมทั้งค่านิยมหลักประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนหน่วยงานด้านความมั่นคงที่เกี่ยวข้อง จึงต้องกำหนดแนวทางในการบริหารจัดการปัญหานี้อย่างเหมาะสม เพื่อมิให้เกิดผลกระทบเชิงลบต่อภาพลักษณ์ของประเทศ ที่มา สำนักงานกิจการยุติธรรม, เอกสารประกอบการประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อการจัดทำแผนแม่บท การบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2556 – 2559

  6. จุดเน้นเชิงนโยบายในการจัดทำงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (พลตำรวจเอกประชา พรหมนอก) • การพัฒนามาตรการเชิงรุกเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงความเป็นธรรม • การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในบทบาทภารกิจของกระทรวงยุติธรรมมุ่งเน้นการพัฒนากฎหมาย กระบวนการบังคับใช้กฎหมายให้สอดคล้องกับพันธกรณีของประชาคมอาเซียน • การลดปริมาณผู้ต้องขังในเรือนจำ และลดปริมาณคดีขึ้นสู่ศาล โดยใช้มาตรการทางเลือกเช่น การนำระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Monitoring) มาใช้ในการควบคุมตัวผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดี และ/หรือนำมาใช้ประกอบกับมาตรการปล่อยตัวชั่วคราว หรือการคุมประพฤติ • การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด โดยการเสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันหลักทางสังคม (ครอบครัว/ชุมชน) • การป้องกันปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบโดยยึดหลักธรรมาภิบาล • ความเตรียมพร้อมด้านครุภัณฑ์และอาคารที่ทำการ ที่มา การประชุมมอบนโยบายในการจัดทำงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 วันที่ 31 ตุลาคม 2555

  7. การปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการสี่ปีกระทรวงยุติธรรมการปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการสี่ปีกระทรวงยุติธรรม • วัตถุประสงค์ • ปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการสี่ปี พ.ศ. 2555-2558 พร้อมกับจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2556 ของกระทรวงยุติธรรม ให้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) แผนปฏิบัติการการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 และยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น • จัดทำกรอบการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ของกระทรวงยุติธรรม และสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) แผนปฏิบัติการการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 และยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

  8. กรอบแนวคิดยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) • กรอบแนวทางและการปฏิรูปกฎหมาย • ให้ ยธ. รับผิดชอบ 1) การปรับกรอบแนวทางระบบกฎหมายของประเทศ 2) การเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรและองค์กรด้านยุติธรรม และ 3) การปรับปรุงระเบียบข้อกฎหมายที่เป็นข้อจำกัดต่อการพัฒนาประเทศ • ระบบยุติธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ • ให้ ยธ. รับผิดชอบเรื่องการเข้าถึงระบบยุติธรรมของประชาชน ที่มา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, การประชุมชี้แจงการจัดทำแผนปฏิบัติการบูรณาการยุทธศาสตร์ของประเทศและแผนปฏิบัติการการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555

  9. เป้าหมายของยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ที่มา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, การประชุมชี้แจงการจัดทำแผนปฏิบัติการบูรณาการยุทธศาสตร์ของประเทศและแผนปฏิบัติการการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555

  10. ที่มา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, การประชุมชี้แจงการจัดทำแผนปฏิบัติการบูรณาการยุทธศาสตร์ของประเทศและแผนปฏิบัติการการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555

  11. ทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของกระทรวงยุติธรรมทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของกระทรวงยุติธรรม • แนวคิดหลัก • การปฏิรูประบบกฎหมายของประเทศไทยตามหลักนิติธรรม และมาตรฐานระหว่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ • แนวทางการดำเนินงาน • การเสริมสร้างศักยภาพทางกฎหมายให้แก่ประชาชน เพื่อเสริมสร้างการเข้าถึงระบบยุติธรรมของประชาชน (Access to Justice) • การปรับปรุงระบบกฎหมายเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Competitiveness) • การยกระดับขีดสมรรถนะขององค์กร และบุคลากรในวงการกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม (Capacity Building) ที่มา การประชุมหารือการบูรณาการแผนปฏิบัติการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของกระทรวงยุติธรรม วันที่ 14 พฤศจิกายน 2555

  12. ยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ที่มา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีของส่วนราชการในประเด็นยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมธรรมาภิบาล, วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555

  13. การปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของกระทรวง (โดยเพิ่มประเด็นยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมธรรมาภิบาล) ประเด็นการวิเคราะห์ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กระทรวง... (พ.ศ..... - พ.ศ.....) วิสัยทัศน์ : ………………. ค่านิยม : ………………… พันธกิจ: ……………….. นโยบายกำกับดูแลองค์กรที่ดี (Organization Governance) : 1) ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ............................................................................................... 2) ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ............................................................................................... 3) ด้านองค์การ ............................................................................................... 4) ด้านผู้ปฏิบัติงาน ............................................................................................... ความท้าทายภายนอก ยุทธศาสตร์ชาติด้านคอร์รัปชั่นฯ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป แผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายรัฐบาล กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก ความท้าทายภายใน • ข้อมูล : • รายงานผลระบบการควบคุมภายใน • รายงาน คตป. • รายงานของ ป.ป.ช. • รายงานของ สตง. • รายงานของ ป.ป.ท. • รายงานจริยธรรมของ ก.พ. • ข้อมูลตัวชี้วัดความโปร่งใสของกระทรวง • ผลสำรวจเกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชั่น / ภาพลักษณ์องค์การ • ข้อร้องเรียนของประชาชน • ฯลฯ ที่มา ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา, การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีของส่วนราชการในประเด็นยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมธรรมาภิบาล, วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555

  14. ตัวอย่าง แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กระทรวงพลังงาน(พ.ศ. 2555 – 2558) ที่มา วารุณี เตยต่อวงศ์, การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีของส่วนราชการในประเด็นยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมธรรมาภิบาล, วันที่ 5 พฤศจิกายน 2555

  15. แนวทางการปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการสี่ปีกระทรวงยุติธรรมแนวทางการปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการสี่ปีกระทรวงยุติธรรม • เพิ่มเติมแนวทางการดำเนินงาน/แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และยุทธศาสตร์การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น • เพิ่มเติมหรือปรับปรุงเป้าหมายการให้บริการกระทรวง ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และตัวชี้วัดให้สอดคล้องกับเป้าหมายของยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และยุทธศาสตร์การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น • วิเคราะห์ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์กับเป้าหมายผลผลิตตามนโยบายรัฐบาล (16+9) กับเป้าหมายการให้บริการกระทรวง ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด และโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติราชการสี่ปี

  16. แบบฟอร์มข้อเสนอแนะสำหรับการปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการสี่ปีกระทรวงยุติธรรมส่วนที่ 1 ส่วนราชการ.............................

  17. แบบฟอร์มข้อเสนอแนะสำหรับการปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการสี่ปีกระทรวงยุติธรรมส่วนที่ 2

  18. สามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่เว็บไซต์สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์หัวข้อข่าวประชาสัมพันธ์http://www.ops.moj.go.th/mini110/inner.php?section=mini110_informationหรือส่งเมล์มาที่ email; policy.moj@gmail.com เพื่อให้ส่งไฟล์กลับไปยังอีเมล์ที่ส่งมา ขอความอนุเคราะห์ให้จัดส่งข้อมูลกลับมายังสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ภายในวันที่ 8 มกราคม 2556 ทางโทรสารหมายเลข 0-2143-8270 หรือทาง email; policy.moj@gmail.com

More Related