220 likes | 665 Views
การวัดทางระบาดวิทยา. น.ส.วิภาวี ธรรมจำรัส. การวัดทางระบาดวิทยา. การวัดขนาดของโรค การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ “โรค” การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค. การวัดขนาดของโรค. การวัดความชุกของโรค (Prevalence)
E N D
การวัดทางระบาดวิทยา น.ส.วิภาวี ธรรมจำรัส
การวัดทางระบาดวิทยา • การวัดขนาดของโรค • การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ “โรค” • การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค
การวัดขนาดของโรค • การวัดความชุกของโรค (Prevalence) = ผู้ป่วยเก่า + ผู้ป่วยใหม่ / จำนวนประชากรทั้งหมด • การวัดอุบัติการณ์ของโรค (Incidence) การวัดขนาดการเกิดขึ้นใหม่ของโรค มี 2 ลักษณะ 1. การวัดความเสี่ยง 2. การวัดอัตรา
การวัดความเสี่ยง (Risk) หมายถึง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ซึ่งจะบอกให้ทราบว่าผู้ที่ ไม่มีโรค จะมีโอกาสในการเกิดโรคมากน้อยเท่าใด จำนวนคนที่เป็นโรค ÷ จำนวนคนทั้งหมด ในเวลา ....... ปี เช่น มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 4 รายจากจำนวนประชากร 6 คน ในระยะเวลา 8 ปี จะมีโอกาสในการเกิดโรค เท่าไหร่ = 4 ÷ 6 x 100 ในเวลา 8 ปี = 66.67 ราย ในเวลา 8 ปี ถ้าในระยะเวลา 1 ปี = 66.67 ÷ 8 = 8.33 ราย
การวัดอัตรา (Rate) หมายถึง เป็นการวัดว่าการเกิดโรคในกลุ่มคนที่ยังไม่ได้ เป็นโรคเกิดขึ้นช้าเร็วเพียงใด โดยใช้ระยะเวลาเสี่ยงต่อการเกิดโรค ของทุกๆคนที่ศึกษามาเป็นมาตรฐานของการคำนวณ RT = D ÷PT D = (การเกิดโรคขึ้นใหม่) PT =(ระยะเวลาของแต่ละคนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค) เช่น ผู้ที่เป็นโรคไข้เลือดออกรายใหม่ 4 รายจากประชากร 6 คน(ระยะเวลาที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค= 32) = 4 ÷32 = 12.5 ราย ÷100 หรือ 12.5% ต่อปี
การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ โรค” 1. วัดในลักษณะของ Ratio Scale - Cumulative incidence ratio หรือ Risk ratio - Incidence density ratio หรือ Rate ratio - Odds ratio - Prevalence ratio - Standardised mortality ratio - Proportional mortality ratio
การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ โรค” (ต่อ) 2. วัดในลักษณะ Difference Scale - Cumulative incidence difference หรือ Risk difference - Incidence density difference หรือ Rate difference 3. วัดในลักษณะอื่นๆ - Correlation coefficient - Regression coefficient
การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค • การวัดผลเฉพาะในกลุ่มผู้ที่มีปัจจัยนั้น เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่และการเกิดโรค ทางเดินหายใจ เป็นโรค ไม่เป็นโรค สูบบุหรี่100 ไม่สูบบุหรี่ 100 50 350
การคำนวณ Attributable fraction among the exposed (AFe) AFe = = = 0.75 หรือ 75 % ถ้า Ie = Incidence ในผู้ที่มีปัจจัย = 40÷100 =40% Iu = Incidence ในผู้ที่ไม่มีปัจจัย = 10÷100 = 10% หรือ ในกรณีที่ไม่มีข้อมูล Incidence สามารถใช้ Relative risk มาใช้ในการ คำนวณได้ AFe = = = 0.75 หรือ 75%
การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค • การวัดผลในประชากรทั้งหมด เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่และการเกิดโรค ทางเดินหายใจ เป็นโรค ไม่เป็นโรค สูบบุหรี่100 ไม่สูบบุหรี่ 100 50 350
การคำนวณ Attributable fraction in the whole population (AFp) AFe = = = 0.60 หรือ 60 % ถ้า Ip = Incidence ใน Population = 50÷200 =0.25 =25% หรือ ในกรณีที่ไม่มีข้อมูล Incidence สามารถใช้ Relative risk และความชุกของการมีปัจจัยในชุมชนมาใช้ในการคำนวณ คือ AFp = Pe x (RR-1) = 0.50 x (4.00-1) = 60% Pe x (RR-1)+1 0.50 x (4.00-1)+1