820 likes | 1.34k Views
บทที่ 6 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล ( Computer Network And Data Communication). การสื่อสารข้อมูล.
E N D
บทที่ 6 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล(Computer Network And Data Communication)
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยผ่านสื่อกลางเช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ, แสงอินฟราเรด, ระบบดาวเทียม.
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล ประกอบด้วย 5องค์ประกอบ คือ • ข้อมูล(Message) • หน่วยส่งข้อมูล (Sending unit) • ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmission unit) • หน่วยรับข้อมูล (Receiving unit) • ข้อตกลงหรือกติกาในการรับส่งข้อมูล(Protocol) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล • ข้อมูล(Message) เป็นข้อมูลที่เราทำการส่งหรือรับ ซึ่ง ประกอบไปด้วย ข้อมูลตัวอักษร, รูปภาพ, เสียง, video, และอื่นๆ • หน่วยส่งข้อมูล (Sending unit)ทำหน้าที่ ส่งข้อมูลออกไป เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล 3. ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmission unit) ทำหน้าที่นำข้อมูลจากหน่วยส่งข้อมูลไปยังหน่วยรับข้อมูล โดยใช้ช่องทางการสื่อสาร เช่น สายโทรศัพท์, สายLAN, สัญญาณวิทยุ เป็นต้น
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล 4.*หน่วยรับข้อมูล (Receiving unit)ทำหน้าที่ รับข้อมูลที่ถูกส่งจากหน่วยส่งข้อมูล หน่วยรับข้อมูล เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล 5. ข้อตกลงหรือกติกาในการรับส่งข้อมูล(Protocol) เป็นข้อตกลงหรือกติกาในการสื่อสาร สามารถเปรียบได้กับ ภาษา ในการสื่อสารถ้าเราเอาคนพูดคนละภาษามาพูดคุยกัน ก็จะไม่สามารถสื่อสารข้อมูลในแต่ละฝ่ายเข้าใจได้ เราจึง จำเป็นต้องใช้กติกาเดียวกันในการสื่อสารทำหน้าที่กำหนด รูปแบบในการส่ง/รับว่าเป็นแบบanalog หรือdigital ระดับแรงดันไฟฟ้าที่ใช้ลักษณะกันเข้ารหัสสัญญาณ เป็นต้น 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ชนิดของสัญญาณ ชนิดของสัญญาณ ประกอบด้วยกัน 2 ชนิด คือ การส่งสัญญาณแบบอนาล็อก (Analog) การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล(Digital) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ชนิดของสัญญาณ การส่งสัญญาณแบบอนาล็อก (Analog) หมายถึงสัญญาณข้อมูลแบบต่อเนื่อง โดยทั่วไปคือสัญญาณที่มนุษย์สามารถสัมผัสได้ เช่น แรงดันของน้ำ ค่าของอุณหภูมิ หรือความเร็วของรถยนต์ เป็นต้น การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล(Digital)หมายถึงสัญญาณข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง โดยทั่วไปคือสัญญาณที่มนุษย์ไม่สามารถสัมผัสได้ เช่น สัญญาณไฟฟ้า เป็นต้น 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
วัตถุประสงค์ของการสื่อสารข้อมูลวัตถุประสงค์ของการสื่อสารข้อมูล • รเพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกำเนิดข้อมูล • รเพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว • รเพื่อช่วยลดเวลาการทำงาน • รเพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร • รเพื่อช่วยการขยายการดำเนินการขององค์กร • รเพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์กร
รูปแบบการสื่อสารข้อมูลรูปแบบการสื่อสารข้อมูล รูปแบบของการสื่อสารข้อมูล แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ • แบบทิศทางเดียว (Simplex) • แบบกึ่งสองทิศทาง(Half duplex) • แบบสองทิศทาง (Full duplex)
แบบทิศทางเดียว (Simplex) • แบบทิศทางเดียว (Simplex) ข้อมูลจะถูกส่งไปในทางเดียวเท่านั้น เช่น การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ ผู้ส่ง ผู้รับ
แบบกึ่งสองทิศทาง (Half duplex) • แบบกึ่งทางคู่ (Half duplex) สามารถส่งข้อมูลสวนทางกันได้แต่ต้องสลับกันส่ง เช่น วิทยุสื่อสารของตำรวจ ผู้ส่ง ผู้รับ
แบบทางคู่ (Full duplex) • แบบทางคู่ (Full duplex) สามารถส่งข้อมูลสวนทางกันได้ตลอดช่วงเวลาเดียวกัน เช่น การพูดโทรศัพท์ ผู้ส่ง ผู้รับ 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 3 ประเภท • ระบบเครือข่ายระยะใกล้ (LAN: LocalArea Network) • ระบบเครือข่ายระหว่างเมือง (MAN: Metropolitan Area Network) • ระบบเครือข่ายระยะไกล(WAN: WideArea Network) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ระบบเครือข่ายระยะใกล้ : LAN เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายขนาดเล็กในพื้นที่ไม่ใหญ่มากนัก เช่น ภายในห้อง หรือภายในตัวอาคาร จุดประสงค์ของการเชื่อมต่อ คือ แบ่งปันทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เช่น พรินเตอร์ สแกนเนอร์ รวมทั้งข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ระบบเครือข่ายระยะใกล้ : LAN 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ระบบเครือข่ายระหว่างเมือง : MAN เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายที่มีขนาดที่ใหญ่ขึ้นกว่า LANมักเกิดจากการเชื่อมโยงเครือข่าย LANในบริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น การเชื่อมต่อระบบระหว่างองค์กรกับองค์กร 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ระบบเครือข่ายระยะไกล : WAN เป็นเครือข่ายบริเวณกว้าง ซึ่งอาจมีขอบเขตการเชื่อมต่อที่กว้างไกลขึ้นจาก LANและ MANซึ่งเมื่อเชื่อมต่อแล้วจะก่อให้เกิดเป็นระบบเครือข่ายในระดับจังหวัด ประเทศ หรือข้ามทวีปได้ 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ระบบเครือข่ายระยะไกล : WAN 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของระบบเครือข่าย แบ่งเป็น 4 ประเภท • โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส (Bus Network) • โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว(Star Network) • โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน(Ring Network) • โครงสร้างเครือข่ายแบบผสม(Hybrid Network) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส: Bus เครือข่ายแบบบัสคือ เป็นเครือข่ายการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆเข้าด้วยกัน ข้อดี ง่ายต่อการนำอุปกรณ์เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย ข้อจำกัด หากมีการส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์สองเครื่องพร้อมกันจะทำให้ข้อมูลสูญหาย เนื่องจากการชนของข้อมูล ต้องทำการส่งข้อมูลใหม่ 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส: BUS 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว: Star เครือข่ายแบบดาวคือ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต่อกับอุปกรณ์ที่อยู่ตรงกลางHUBเพียงตัวเดียว เมื่อต้องการส่งข้อมูลจะต้องส่งผ่าน HUBก่อน เป็นรูปแบบการต่อที่นิยมมากที่สุด ข้อดีง่ายต่อการตรวจเช็คเมื่อคอมพิวเตอร์มีปัญหาส่งข้อมูลไม่ได้, ลดปัญหาการชนของข้อมูล ข้อจำกัดHUB เป็นตัวกลางของการส่งข้อมูล ถ้าเสียระบบก็ล่ม 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว: Star 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน: Ring เครือข่ายแบบวงแหวน คือ ต่อสายผ่านคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องเป็นวง การส่งข้อมูลจะส่งผ่านวงแหวนโดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจนถึงเครื่องที่ร้องขอข้อมูล ข้อดีไม่มีปัญหาเรื่องการชนของข้อมูล ข้อจำกัด การส่งข้อมูลจะช้ากว่าทุกระบบ เพราะต้องส่งผ่านที่ละเครื่องจนถึงเครื่องที่ร้องขอข้อมูล 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน: Ring 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
โครงสร้างเครือข่ายแบบผสม:Meshโครงสร้างเครือข่ายแบบผสม:Mesh เครือข่ายแบบผสมเป็นระบบที่ผสมผสานการเชื่อมต่อกับระบบทั้งสามระบบข้างต้น โดยผ่านตัว HUBเป็นการขยายระบบเครือข่ายให้สามารถรองรับคอมพิวเตอร์มากขึ้น 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
โครงสร้างเครือข่ายแบบผสม:Hybridโครงสร้างเครือข่ายแบบผสม:Hybrid 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สื่อกลางนำส่งข้อมูล (Transmission Media) สื่อกลางนำส่งข้อมูล แบ่งเป็น 2 ประเภท • ชนิดใช้สาย (Wire) • ชนิดไร้สาย(Wireless) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สายคู่ตีเกลียว(Twisted pairs cable) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สายคู่ตีเกลียว(Twisted pair cable) • สายคู่บิดเกลียวที่พบเห็นโดยทั่วไป คือ สายโทรศัพท์ • มีฉนวนหุ้มจับคู่พันเป็นเกลียว เพื่อลดสัญญาณรบกวน • ประกอบด้วยสายทองแดง 2 เส้น (สายคู่ตีเกลียว 1 คู่ จะแทนการสื่อสารได้ 1 ช่องทางสื่อสาร (Channel) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สายคู่ตีเกลียว (Twisted pair cable) สายคู่บิดเกลียวที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ เป็นสายทองแดง 8 เส้น 4 คู่ และเชื่อมต่อด้วย คอนเน็กเตอร์ RJ-45 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สายคู่ตีเกลียว (Twisted pair cable) สายคู่บิดเกลียว แบ่งออกเป็น 2 ชนิด • สายคู่บิดเกลียวไม่หุ้มฉนวน (Unshield Twisted Pair : UTP) • สายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (Shielded Twisted pair : STP) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวน(Unshield Twisted Pair : UTP) สายแบบ UTP เป็นสายที่มีราคาถูกและหาง่ายแต่ป้องกันสัญญาณรบกวนจากอำนาจแม่เหล็กได้ไม่ดีเท่าสายแบบ STP 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สายคู่ตีเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (Shielded Twisted pair : STP) สายแบบ STP เป็นสายแบบมีฉนวนป้องกัน (ฉนวนโลหะ) สัญญาณรบกวนที่ความถี่สูงได้ ราคาจะแพงกว่าสาย UTP มาก สามารถเดินสายได้ยาวกว่าสาย UTP 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สายโคแอกเชียล(Coaxial cable) ประกอบด้วยแกนทองแดงหุ้มด้วยฉนวน ภายนอกฉนวนจะถูกหุ้มด้วยโลหะอีกชั้นหนึ่งเพื่อป้องกันสนามไฟฟ้ารบกวนจากภายนอก และสายดิน (ลักษณะเป็นฝอย) แล้วหุ้มด้วยฉนวนบางอีกหนึ่งชั้น 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สายโคแอกเชียล (Coaxial cable) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สายโคแอกเชียล(Coaxial cable) • รองรับความเร็วสูงสุดในการรับ-ส่งข้อมูลที่ 10 Mbps สายนำสัญญาณแบบนี้จะใช้ Connector เฉพาะในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ และจุดต่างๆ ภายในเครือข่าย • ปัจจุบันได้เปลี่ยนสายดินจากลวดทองแดงเป็นลวดเงิน ทั้งนี้เพื่อ ป้องกันอาการรบกวนที่เกิดจากสายสัญญาณข้างเคียง 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic Cable) • เป็นสายนำสัญญาณที่ใช้รูปแบบของแสงในการรับ-ส่งข้อมูล • อุปกรณ์ทั้งสองตัวมีหน้าที่แปลงสัญญาณแสงให้เป็นสัญญาณที่เครื่องคอมพิวเตอร์รู้จัก (ดิจิตอล) • สายใยแก้วนำแสงมีประสิทธิภาพ ในการรับส่งข้อมูลที่เร็วที่สุดเมื่อเทียบกับสายนำสัญญาณชนิดอื่น • รองรับความเร็ว ในการรับ-ส่งข้อมูลสูง 565-1300 Mbps 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
สายใยแก้วนำแสง(Fiber optic Cable) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ข้อดีของสายใยแก้วนำแสงข้อดีของสายใยแก้วนำแสง • ทนทานต่อคลื่นรบกวนด้วยฉนวนชั้นนอก • สัญญาณคงที่ในการส่งข้อมูลแม้ในระยะทางไกลๆ ไม่ต้อง อาศัยอุปกรณ์ เพิ่มสัญญาณหรือทวนสัญญาณ • แบนด์วิดท์สูง รองรับความเร็วในการส่งข้อมูลประมาณ 500 Mbps ขึ้นไป 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ข้อจำกัดของสายใยแก้วนำแสงข้อจำกัดของสายใยแก้วนำแสง • มีราคาแพงเนื่องจากต้นทุนการผลิต • การติดตั้งและการบำรุงรักษา • ความเปราะและแตกหักง่าย 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ระบบไมโครเวฟ(Microwave System) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ระบบไมโครเวฟ(MicrowaveSystem) • ไมโครเวฟ คือ ช่วงสัญญาณคลื่นวิทยุ นำมาใช้ในการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงทั้งสัญญาณเสียงและข้อมูล • มีจานส่งและรับข้อมูลตั้งอยู่บนเสาสูง ยอดตึก หรือภูเขา • ส่งสัญญาณเป็นเส้นตรง และจะไม่มีอะไรมาขวางกั้น (แต่มีการลดทอนของสัญญาณ) • ระยะทางของจานรับ/ส่งประมาณ 30-50 กม. 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ระบบไมโครเวฟ (Microwave System) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ระบบดาวเทียม(SatelliteSystem) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ระบบดาวเทียม(Satellite System) • ดาวเทียม มีหน้าที่ขยายและทบทวนสัญญาณข้อมูล, รับและส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียมภาคพื้นโลก • ดาวเทียมอยู่ห่างจากพื้นโลกประมาณ 36,000 ก.ม. • การส่งสัญญาณข้อมูลขึ้นไปยังดาวเทียมเรียกว่า “สัญญาณอัป-ลิงค์” (Uplink) • การส่งสัญญาณข้อมูลกลับมายังพื้นโลกเรียกว่า “สัญญาณดาวน์-ลิงค์” (Downlink) 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน