110 likes | 325 Views
“ AEC : อนาคต พืช ผัก ผลไม้ไทย”. การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ”กองทุน FTA : เสริมสร้างเกษตรกรไทยรับมือ AEC ” วันที่ 5 เมษายน 2555 ณ ห้องแก รนด์ บอล รูม โรงแรมมณีจันทร์ รี สอร์ท จังหวัดจันทบุรี. สิ่งที่นอกเหนือจากปัจจัยพื้นฐาน. AFTA. AEC. ASEAN E conomic C ommunity
E N D
“AEC : อนาคต พืช ผัก ผลไม้ไทย” การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ”กองทุน FTA: เสริมสร้างเกษตรกรไทยรับมือ AEC” วันที่ 5 เมษายน 2555 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมมณีจันทร์ รีสอร์ท จังหวัดจันทบุรี
สิ่งที่นอกเหนือจากปัจจัยพื้นฐาน สิ่งที่นอกเหนือจากปัจจัยพื้นฐาน AFTA AEC ASEAN Economic Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Free Flow of Goods Free Flow of Capital Free Flow of Skilled Labor โดยมีแนวคิดว่า อาเซียนจะกลายเป็นเขตการผลิตเดียว / ตลาดเดียว • ASEAN Free Trade Area • เขตการค้าเสรีอาเซียน • เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในฐานะที่เป็นฐานการผลิตที่สำคัญเพื่อป้อนสู่ตลาดโลก โดยอาศัยการเปิดเสรีด้านการค้าและการลดภาษี
AEC ASEAN +3 จีน เกาหลี ญี่ปุ่น +6 อินเดีย ออสเตรเลีย AFTA นิวซีแลนด์ การปรับเปลี่ยนไม่หยุดแค่... AEC
จาก คนไทย 60 ล้านคน สู่ ประชากรอาเซียน 600 ล้านคนดีหรือไม่
ดังนั้น เราควรทำอย่างไรเมื่อ…….เกิดการปรับเปลี่ยน ต่อต้าน ..... หรือ ..... ยอมรับ
ต้อง...วิเคราะห์ศักยภาพที่มีอยู่ต้อง...วิเคราะห์ศักยภาพที่มีอยู่ จุดเด่น จุดด้อย 1. เรามีจุดด้อยด้านใดบ้าง 2. ปัญหาใดที่ยังไม่สามารถแก้ไขได้ และคิดว่าเป็นอุปสรรคของเรา 3. เราสามารถปรับแก้ไขจุดด้อยของเราได้หรือไม่ พิจารณาร่วมกันกับผู้ร่วมสัมมนา • 1.เรามีจุดเด่นอะไรบ้าง • 2.ทำอย่างไรจึงจะเพิ่มมูลค่าของจุดเด่นได้ • 3. คุณภาพ คู่ คุณธรรม เพื่อความยั่งยืน • พิจารณาร่วมกันกับผู้ร่วมสัมมนา เพื่อการยอมรับอย่างแท้จริง
ผลไม้ไทย.....ในต่างประเทศผลไม้ไทย.....ในต่างประเทศ มะม่วงน้ำดอกไม้..ที่ เกาหลี มังคุดแช่เยือกแข็ง...ที่เกาหลี
ผลไม้ไทย.....ในต่างประเทศผลไม้ไทย.....ในต่างประเทศ ลำไย...ที่อเมริกา มังคุดสด...ที่อเมริกา
ตัวอย่างของ…นวัตกรรมผลไม้ไทยตัวอย่างของ…นวัตกรรมผลไม้ไทย Frozen Mangosteen Frozen Ruby Mangosteen
หากเรา..... ยอมรับเราต้อง..... • รีบปรับตัวโดยเร่งทำความเข้าใจกับสิ่งที่จะเปลี่ยนแปลง • ทำความเข้าใจอย่างเชิงลึกในทุกภาคส่วน ไม่เฉพาะแต่เกษตรกรรากหญ้า • วิธีการแก้ไขภาคเกษตรตามนโยบายของภาครัฐจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยวิธีการที่ทำกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้อย่างแน่นอน • เกษตรกรที่เป็นผู้ผลิตอาหารเลี้ยงประชากรโลกจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องมีเกียรติ มิใช่เป็นดังเช่นปัจจุบัน • ต้องเข้าใจว่าเกษตรกรมิใช่เป็นเพียงผู้ผลิตอาหารให้มนุษยชาติเท่านั้น ยังรวมถึงอาหารของสัตว์อีกด้วย • ภาครัฐต้องเติมเต็มความพร้อมของภาคการผลิตก่อนที่จะมีการใช้ AEC • ทุกการเปลี่ยนแปลงย่อมมีผลต่อความมั่นคงของคนไทยและชาติไทย เกษตรกรไทยที่เข้มแข็งจะเป็นพลังสำคัญของการคงอยู่ของประเทศชาติตามแบบวิถีไทย.
ด้วยความขอบคุณ... พจนา กิจกาญจน์ ผู้บรรยาย