1 / 12

สังกะสี แคดเมียม

สังกะสี แคดเมียม. สมบัติทั่วไปของสังกะสี และ แคดเมียม. สังกะสี. Zn. สังกะสี (Zinc ) เป็น ธาตุแรกของหมู่ II B สัญลักษณ์ คือ เป็นธาตุประเภทโลหะที่มีความไวต่อปฏิกิริยาเคมีพอสมควรกับออกซิเจนและ ธาตุ ที่ ไม่ใช่โลหะ สังกะสี เมื่อทำปฏิกิริยากับกรดเจือจางจะปล่อยก๊าซไฮโดรเจนออกมา.

mercer
Download Presentation

สังกะสี แคดเมียม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สังกะสี แคดเมียม

  2. สมบัติทั่วไปของสังกะสีและ แคดเมียม

  3. สังกะสี Zn สังกะสี (Zinc) เป็น ธาตุแรกของหมู่ II B สัญลักษณ์ คือ เป็นธาตุประเภทโลหะที่มีความไวต่อปฏิกิริยาเคมีพอสมควรกับออกซิเจนและธาตุ ที่ไม่ใช่โลหะ สังกะสีเมื่อทำปฏิกิริยากับกรดเจือจางจะปล่อยก๊าซไฮโดรเจนออกมา

  4. คุณสมบัติของแร่ Zn เป็นโลหะสีเงิน แต่สีจะหมองคล้ำเมื่อถูกกับอากาศ เพราะเกิดเป็นออกไซด์เคลือบบางๆ ที่ผิว Zn เมื่อเผาให้ร้อนในอากาศ จะเป็น ZnO  ซึ่งมีสีขาว และสีไม่หมองคล้ำ ZnO ละลายน้ำได้น้อย แต่ละลายได้ดีในกรดแก่และเบสแก่ Zn ทำปฏิกิริยากับอโลหะอื่นๆ ได้สารประกอบต่างๆ       

  5. แหล่งที่พบ สังกะสี พบในรูปสังกะสีซิลิเกต เช่น แร่เฮมิเมอร์ไฟต์ ( Zn 4(Si 2O 7)(OH) 2(H 2O)) แร่สมิทซอไนต์ ( ZnCO 3) และแร่ซิงไคต์ ( ZnO) สำหรับแร่สังกะสีที่พบมากที่สุดในโลก คือแร่สฟาเลอไรต์ ( ZnS) ส่วนในประเทศไทย พบแร่สังกะสีพบมากที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก

  6. การถลุงสังกะสี นำสินแร่สังกะสี ZnS, มาทำให้เป็นออกไซด์ Zn ด้วยการเผา ได้ นำสังกะสีออกไซด์ (ZnO) มาแยก Zn Zn ออกจาก ZnO ทำปฏิกิริยากับถ่านโค้ก นำไปใช้แยก ได้ Zn(s) + CO(g) CO ที่เกิดขึ้นทำปฏิกิริยากับ ZnO ได้ Zn(s) + CO 2(g) CO 2 ที่เกิดขึ้น แยกZn C ที่เหลือเกิด CO ทำปฏิกิริยากับ

  7. นำแร่มาบด เครื่องบดเปียก ละเอียดเป็นผง แคดเมียม พลวง ทองแดง ทำปฏิกิริยากับ กรดซัลฟิวริก เติมผงสังกะสี เติมผงสังกะสี เติมผงสังกะสี ได้สารละลายที่มีละลายอยู่ กรองแยกกากแร่ ออกจากกัน บ่อเก็บแร่ สารละลายที่กรองได้ จะมีเกลือของแคดเมียม พลวง ทองแดงละลายอยู่ ปรับสภาพให้เป็นกลางด้วยปูนขาว

  8. ประโยชน์ของแร่สังกะสีประโยชน์ของแร่สังกะสี 1. ใช้เคลือบผิว (galvanizing) ของเหล็กกล้าเพื่อป้องกันการเกิดสนิม 2. ใช้ในรูปของโลหะเจือ ในการผลิตขึ้นรูปเป็นแผ่นสังกะสี 3. ใช้เป็นส่วนผสมของสีและยาง 4. ใช้เป็นชิ้นส่วนรถยนต์ ฟิวส์ไฟฟ้า ขั้วของถ่านไฟฉาย 5. ใช้เตรียมสารเคมีของสังกะสี

  9. แคดเมียม แคดเมียม (Cadmium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 48สัญลักษณ์คือ แคดเมียมเป็นโลหะทรานซิชันสีขาว-ฟ้า Cd คุณสมบัติของแร่ แคดเมียม เป็นโลหะหนัก มีสีขาว ฟ้า วาว มีลักษณะเนื้ออ่อน สามารถบิดโค้งงอได้และถูกตัดได้ง่ายด้วยมีด มักอยู่ในรูปแท่ง แผ่น เส้นลวด หรือเป็นผงเม็ดเล็กๆ ในอากาศที่มีความชื้นแคดเมียม จะถูกออกซิไดซ์ช้าๆ ให้แคดเมียมออกไซด์ ในธรรมชาติแคดเมียมมักจะอยู่รวมกับกำมะถันเป็นแคดเมียมซัลไฟด์ และ มักปนอยู่ในสินแร่สังกะสี ตะกั่ว หรือทองแดง

  10. วิธีทำ Cd จากกากแคดเมียม วิธีทำ Cd จากกากแคดเมียม  เป็นขั้นตอนดังนี้ 1. เติม H2SO4ลงในกากแคดเมียมที่บดแล้ว ทำให้เป็นกลางด้วย CaCO3นำไปกรอง 2. เติมผง Zn ลงในสารละลายที่กรองได้ จะได้ Cd ที่พรุนตะกอน นำไปกรองจะได้ตะกอน Cd มีลักษณะพรุน 3. นำ Cd ที่พรุนไปเติม H2SO4อีกครั้งแล้วทำเป็นกลางด้วยCaCO3แล้วกรองเอาตะกอนออก 4. สารละลายที่ได้นำแยก Cd ออกด้วยกระแสไฟฟ้า นำ Cd ที่ขั้ว Cathode ( - ) ไปทำเป็นก้อน หรือเป็นแท่ง เพื่อนำไปใช้เป็นประโยชน์ต่อไป

  11. ประโยชน์ของแร่ โลหะแคดเมียมมีสีเทาเงิน จัดเป็นโลหะอ่อน ง่ายต่อการตัด มีสมบัติคล้ายสังกะสี แต่แคดเมียมเป็นสารพิษ(เกิดโรคอิโต-อิไต) ไม่ควรได้รับฝุ่นแคดเมียมเกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร นานเป็นเวลา 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เพราะจะทำให้เป็นอันตรายได้ สามารถทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน และทำปฏิกิริยากับกรด แต่ไม่ทำปฏิกิริยากับเบส  ใช้เคลือบโลหะที่เกิดการผุกร่อนเหมือนสังกะสี ใช้ทำขั้วไฟฟ้าในเซลล์นิกเกิล-แคดเมียม โลหะแคดเมียมดูดซับนิวตรอนได้ดี จึงใช้เป็นแท่งควบคุมการเกิดปฏิกิริยาฟิชชันในเตาปฏิกรณ์ โลหะผสมของแคดเมียมจะมีจุดหลอมเหลวต่ำ

  12. จัดทำโดย • 1. นาย สยามรัฐ อิ่นแก้ว เลขที่ 8 • 2. นาย ศศิพงษ์ กันทะเนตร เลขที่ 13 • 3. นาย ศักดิธัช ชัยลังกา เลขที่ 11 • 4. นางสาว ทิพย์วิไล คำเรือง เลขที่ 18 • 5. นางสาว ศิริลักษณ์ ตาคำ เลขที่ 41 • นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 • เสนอ • ครู แสงหล้า คำหมั้น • รายวิชา เคมี 5 • รหัสวิชา ว30225 • โรงเรียนเชียงของวิทยาคม

More Related