1 / 21

Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล

Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล. อ.ณัฐพงศ์ พยัฆคิน. Input Statements. cin >> var 1 >> var 2 >>…>>var n ;. ตัวอย่าง int age; age initial bill char initial; float bill;. ?. ?. ?. Computer Programming Design. Input Statements.

mercer
Download Presentation

Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล อ.ณัฐพงศ์ พยัฆคิน Computer Programming Design

  2. Input Statements cin >> var 1 >> var 2 >>…>>var n; ตัวอย่าง int age; age initial bill char initial; float bill; ? ? ? Computer Programming Design

  3. Input Statements สมมุติว่า user พิมพ์ 25 J 2 แล้ว Enter จะได้ผลลัพธ์อย่างไร cin >> age;cin >> initial;cin >> bill; age initial bill 25 2.0 J Computer Programming Design

  4. การรับค่าทีละตัวอักษรการรับค่าทีละตัวอักษร get( ) function รูปแบบcin.get(ch); // กำหนด char ch; จะสามารถรับค่าตัวอักขระที่อยู่ถัดไปได้แม้แต่ whitespace • Whitespace- ช่องว่าง (Blanks) • แท็ป (Tabs) • จุดสิ้นสุดบรรทัด (End-of-line หรือ Newline) Computer Programming Design

  5. ตัวอย่าง first middle last char first; char middle; char last; ? ? ? สมมุติว่า user พิมพ์ A B C แล้ว Enter จะได้ผลลัพธ์อย่างไร first middle last cin.get(first); cin.get(middle); cin.get(last); A B Computer Programming Design

  6. ชนิดของตัวแปร Computer Programming Design

  7. Implicit conversion Variable = Expression เริ่มแรกจะทำการประมวลผลค่านิพจน์ (Expression) ทางด้านขวามือและจะนำผลลัพธ์ไปเก็บไว้ในตัวแปรทางด้านซ้ายมือ หากผลลัพธ์ทีได้ต่างชนิดกับตัวแปรทางด้านซ้ายมือจะเกิดการปรับเปลี่ยนค่าตามชนิดของประเภทของตัวแปรโดยอัตโนมัติ ตัวอย่าง float x = 7.0/2.0; => x=3.5 int y=7.0/2.0; => y=3 Computer Programming Design

  8. ค่าที่เก็บ คืออะไร int someInt; someInt = 4.8; float someFloat; someFloat = 12; ? ? 12.0 4 Computer Programming Design

  9. Type Casting (Explicit Conversion int (4.8) เปลี่ยนชนิดข้อมูลเป็นจำนวนเต็ม 4 float (5) เปลี่ยนชนิดข้อมูลเป็นจำนวนจริง 5.0 float (7/4) เปลี่ยนผลหารจำนวนเต็ม 1 เป็นจำนวนจริง 1.0 float (7) / float (4) เปลี่ยนเป็นจำนวนจริง 7.0 และ 4.0แล้วจึงคำนวณผลหาร 7.0/4.0 ได้จำนวนจริง 1.75 Computer Programming Design

  10. การหารจำนวนเต็ม (Integer Division) Integer division เป็นปัญหาที่พบบ่อยมาก ผลหาร จะเป็นค่าจำนวนเต็ม ตัวอย่าง ถ้า n เป็นจำนวนเต็ม => 1/n จะได้ผลลัพธ์เป็นค่าจำนวนเต็ม 0 (zero) ถ้าต้องการให้คำตอบถูกต้อง จะต้องบังคับ ไม่ให้ ค่าที่มากกระทำกันเป็นจำนวนเต็มทั้งคู่ อย่างน้อยต้องแปลงให้ตัวใดตัวหนึ่งเป็นจำนวนจริงตัวอย่างfloat f=1.0/n; หรือ float f=1/float(n); Computer Programming Design

  11. ตัวกระทำเปรียบเทียบและตรรกะ(Comparison and Logical Operators) ตัวกระทำเปรียบเทียบความสัมพันธ์ (Comparison/Relational operators)ใช้ในข้อความเงื่อนไข (condition) หรือ ใช้ในนิพจน์เชิงตรรกะ(logical expression) ซึ่งผลของการเปรียบเทียบจะได้ค่า จริง (true)หรือเท็จ (false)เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง Computer Programming Design

  12. นิพจน์เชิงตรรกะ(Logical Expressions) จริง คือ T เท็จ คือ F Computer Programming Design

  13. นิพจน์เชิงตรรกะ(Logical Expressions) (15 > 10 ) && ( 25 > 0) ตัวอย่าง ถ้า i = 15, j = 25 แล้ว (i > 10) && (j > 0)คำตอบ จริง (true) ถ้า i = 5, j = 25 แล้ว (i > 20) && (j > 0)คำตอบ เท็จ (false) ( 5 > 20 ) && ( 25 > 0 ) Computer Programming Design

  14. Complex Boolean กรณีที่มีวงเล็บ (parenthesis) ให้พิจารณาค่าในวงเล็บก่อน ((7 > 5) || (4 < 3)) && (1 > 2) T F F T F กรณีไม่มีวงเล็บ(parenthesis) ให้พิจารณาตามลำดับของ NOT -> AND -> OR (7 > 5) || (4 < 3) && (1 > 2) T F F F T Computer Programming Design

  15. iomanip.h #include <iomainp.h> ใช้ในการจัดรูปการพิมพ์ เช่น การกำหนดจำนวนทศนิยม ที่จะให้แสดงออกมาทางจอภาพด้วยคำสั่ง cout #include<iostream.h> //ใส่ที่ต้นโปรแกรม cout.setf(ios::fixed); //เพื่อกำหนดให้จุดคงที่ กำหนดจำนวนตัวเลขหลังจุด - แบบ Explicitly cout.precision( n ); // n คือจำนวนตำแหน่ง - แบบ Implicitly cout << … << setprecision ( n ) << … Computer Programming Design

  16. ตัวอย่างการใช้ Manipulators #include <iostream.h> #include <iomanip.h> int main (){ float myNumber = 12.348; cout.set(ios::fixed); cout<<“Number is “<< setprecison(2)<<myNumber<<endl; cout<<“Number is “<< setprecison(1)<<myNumber<<endl; return 0; } Output Number is 12.35 Number is 12.3 Computer Programming Design

  17. การใช้ setw(n) • setw( ) อ่าน “set width” ใช้ระบุขนาดความกว้างของพื้นที่ ที่สามารถใช้ในการพิมพ์ ทำให้สามารถควบคุมการพิมพ์และจัดรูปแบบการพิมพ์แบบ ขวาตรง (right-justified) ได้ • Argumentn ใช้ในการระบุจำนวนตำแหน่งของตัวอักษรที่จะพิมพ์ ซึ่งอาจเป็นข้อมูลชนิด ตัวเลข (number) หรือ สตริง (string) แต่ใช้ไม่ได้กับ ตัวอักขระ (char) Computer Programming Design

  18. ตัวอย่างการใช้ setw( ) #include <iostream.h> //เพื่อการใช้งาน setw() #include <iomanip.h> int main (){ int myNumber = 123; int yourNumber = 5; cout<<setw(10) <<“Mine“ <<setw(10)<<“Yours”<<endl <<setw(10)<< myNuber<<setw(10)<<yourNumber<<endl; return 0; } Output 12345678901234567890 Mine Yours 1235 Computer Programming Design

  19. #include <iostream.h> #include <iomanip.h> int main (){ float myNumber = 123.48; float yourNumber = 3.14159; cout.set(ios::fixed); cout.presicion(3); cout<<setw(10)<<myNumber<<endl <<setw(10)<<yourNumber<<endl; return 0; } Right-justified Left-justified #include <iostream.h> #include <iomanip.h> int main (){ float myNumber = 123.48; float yourNumber = 3.14159; cout.set(ios::fixed); cout.presicion(3); cout<<‘\t’<<myNumber<<endl <<‘\t’<<yourNumber<<endl; return 0; } Output 123.400 3.142 Output 123.400 3.142 Computer Programming Design

  20. Computer Programming Design

More Related