290 likes | 440 Views
บุรินทร์ กำจัดภัย สถาบันสำนักเรียนท่าโพธิ์สำหรับฟิสิกส์ทฤษฎีและจักรวาลวิทยา ภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยนเรศวร การทำงานของนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ในวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์สากล. การบรรยายรับเชิญที่ ศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
E N D
บุรินทร์ กำจัดภัยสถาบันสำนักเรียนท่าโพธิ์สำหรับฟิสิกส์ทฤษฎีและจักรวาลวิทยาภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยนเรศวรการทำงานของนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ในวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์สากล การบรรยายรับเชิญที่ ศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ 2549 10.00-12.00 วันศุกร์ที่ 18 สิงหาคม 2549
Deterministism Basics • คิดใหม่ • ทำใหม่ วิธีใหม่ • ได้ผลลัพย์ใหม่ๆ (จะเป็นผลลัพย์ที่พึงประสงค์หรือไม่นั้น ไม่แน่) การทำอะไรใหม่ๆ ต้องเสี่ยง เพราะผลลัพย์ออกมาจะแตกต่าง ดีขึ้น หรือ แย่ลง เท่านั้น หรือ? • คิดเก่า • ทำเก่า วิธีเก่า • ได้ผลลัพย์เก่าๆ • คิดใหม่ • ทำเก่า วิธีเก่า (ถูกบังคับ) • ได้ผลลัพย์เก่าๆ
แต่ที่จะพูดต่อไปนี้เป็นทัศนะของ ฉัน ในวันนี้ เท่านั้น ไม่ใช่ความจริงแท้หรือหลักการที่ต้องยึดถือ สิ่งที่จะพูดอาจใหม่ที่เมืองไทย ดี หรือ ไม่ดี สำหรับ เรา ให้เลือกที่จะเชื่อและคิดเอง ไม่มี วิถี ที่เหมือนกันสำหรับทุกคน แสวงหาแนวทางของตัวเอง
เริ่มเป็นนักวิทยาศาสตร์วิจัยเริ่มเป็นนักวิทยาศาสตร์วิจัย • ก่อนวิจัยต้องตระหนักว่า • ทำประยุกต์ วิทยาศาสตร์พื้นฐานต้องรู้จริงและเข้มแข็ง มิฉะนั้นจะเป็นแค่การลองผิดลองถูก • ประโยชน์คาดหวังอาจได้มาก หรือ น้อย กว่าเดิมแต่งานนั้นล้วนมีคุณค่าไม่ให้คนเดินซ้ำรอย • ทำเพื่ออะไร ทำเพื่อเงิน หรือทำเพราะต้องการแสวงหาความจริง (ชอบ) • ความเป็นไปได้ • ผลได้และเสียต่อสังคม • ต้องมีหลักวิทยาศาสตร์พื้นฐานอย่างน้อย 1 ศาสตร์ที่เป็นความชำนาญหลักยึดเพื่อต่อยอด มิเช่นนั้นจะกลายเป็น เป็ด
นักวิทยาศาสตร์อาชีพควรมีและได้รับนักวิทยาศาสตร์อาชีพควรมีและได้รับ • งานทำ • อาจารย์ นักวิจัยอาชีพ (เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ อาจทำได้ลำบาก) • เวลา • ความเป็นศิลปิน • สมาธิ + ความเป็นเสรีภาพทางความคิด สิ่งนี้นำสู่ความเป็นเลิศ • จุดยืนทางวิชาการที่ชัดเจน • Creativity • จริยธรรมทางวิชาการ • ครอบครัวที่เข้าใจ • ความฝัน และ ความมุ่งหวัง • การถ่ายทอด ไม่ใช่การสอน แต่เป็นการทำให้ศิษย์ดู • เกียรติภูมิที่มีในตัวเอง
สภาพการวิจัยวิทยาศาสตร์ในบ้านเราสภาพการวิจัยวิทยาศาสตร์ในบ้านเรา • วิจัยเสร็จเย็บเล่มส่งโดยไม่เผยแพร่ ไม่ดีเพราะไม่มีการตรวจสอบ • ศักยภาพทางภาษาอังกฤษ • เกิดสถานการณ์ของการวิจัยแบบ crank ที่ได้ทุนวิจัย ทั้งที่ไม่มีความรู้จริง แหล่งทุนไม่มีกลไกการตรวจสอบคุณภาพ • ทำเพื่อเงินหรือให้พอเสร็จเป็นผลงาน อาจสั่นคลอนจริยธรรมการวิจัย ปริมาณมากกว่าคุณภาพ • โครงสร้างและวัฒนธรรมของคนในองค์กร ที่ ..............
ไม่รู้ ไม่เข้าใจด้วยซ้ำว่า วิจัยวิทยาศาสตร์ คืออะไร
ในมุมมองของ หมอนี่=> “There are few problems and I am so positive that it is not impossible to solve.”
วิจัยระดับสากล ทำอย่างไร • ติดตามงาน อ่าน Abs.paper ทุกวันบน database • สังเกต ตั้งคำถาม ตั้งคำตอบลอยๆ หรือสมมติฐาน • ตรวจสอบ คำนวณ ทดลอง วิเคราะห์ • เปรียบเทียบสถานการณ์วิจัยปัจจุบันแบบเกาะติด • ส่งให้พันธมิตรดู discuss • เขียน บทความ หรือเผยแพร่วิธีอื่น ในสื่อวิจัยระดับนานาชาติ • การติดตามงานของชาวบ้านและการหา project ใหม่ๆระดับแนวหน้า
Scientific meetings • Schools • Conferences • Symposia • Seminar • Colloquia • Workshops • Meetings
การเผยแพร่ผลงาน • journal (peer reviewed) • Impact Factor Grade A+ A, B+ B • Cite database.... การติดตามผลการ cite งานของเรา • การประชุมวิชาการ (เฉพาะทาง) ที่มีการ peerreview, oral or poster: proceedings
การสร้างกลุ่มวิจัย องค์ประกอบ คน + กิจกรรม + เงินกองกลาง • กิจกรรม: วิจัยโครงการเดียวกัน • กิจกรรม: สัมมนากลุ่ม อย่างสม่ำเสมอ • วัฒนธรรมกลุ่ม เช่น การนัดตี ปิงปอง สังสรรภายใน ระเบียบระบบภายใน • มีเงินกองกลาง ที่มีบัญชีฝากธนาคารกลางอย่างโปร่งใส สถานที่หรูๆ ไม่ได้จำเป็นที่สุด
การพัฒนาคุณภาพลูกศิษย์วิจัย paper ก่อนเรียนจบ การสอบป้องกัน thesis • ให้ดูการสอบของ Reinabelle Reyes • ให้ดู project จักรกฤษ และ พิมพิมล บนเวป
Crossing exam • B.S.Project in English + Encouragement to the NSPG talk • M.S. requires 1 international paper at least submitted • Ph.D. requires 3 papers • สอบ thesis เป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด
ยุทธศาสตร์เพิ่มเติมสำหรับมหาวิทยาลัยวิจัยยุทธศาสตร์เพิ่มเติมสำหรับมหาวิทยาลัยวิจัย • postdoctoral fellowship • Centre of Sci. Meetings
สถาบันสำนักเรียนท่าโพธิ์ฯสถาบันสำนักเรียนท่าโพธิ์ฯ
ปริมาณการวิจัย • June, 2006Cosmological Dynamics from Modified f(R) Gravity in Einstein FrameDaris Samart (TPTP's FPC Naresuan)[arXiv: astro-ph/0606612] • March, 2006A Quintessentially Geometric ModelBurin Gumjudpai (TPTP's FPC Naresuan), Tapan Naskar (IUCAA, Pune, India) & John Ward (Queen Mary, Univ. of London) [arXiv: hep-ph/0603210] Jan, 2006Green Function of Single-Electron in Non-relativistic Quantum MechanicsArtit Hootem (TPTP's CMT Naresuan)in press [pdf file] Feb, 2005Coupled dark energy: Towards a general description of the dynamicsBurin Gumjudpai (TPTP's FPC Naresuan), Tapan Naskar (IUCAA, Pune, India), M. Sami (IUCAA, Pune, India) & Shinji Tsujikawa (Gunma Nat. College of Tech., Japan)Jour. of Cosmol. & Astropart. Phys. JCAP06(2005)007 [arXiv: hep-th/0502191] [full paper file] Dec, 2004Variation principle of action in braneworld cosmology (in Thai)Darid Samart (Rajabhat Ubon & TPTP's FPC Naresuan)[pdf file] Feb, 2004Density perturbations in generalized Einstein scenarios and constraints on nonminimal couplings from the Cosmic Microwave Background, Shinji Tsujikawa (ICG Portsmouth) & Burin Gumjudpai (TPTP's FPC Naresuan)Phys. Rev. D 69, (2004) 123523 [arXiv: astro-ph/0402185] [full paper file]
คุณภาพงานวิจัย • 1 paper cited 45 times in the ArXiv (JIF 7.9) 2005 • 1 paper cited 19 times in the ArXiv (JIF 4.7) 2004 • 1 paper cited 4 times (Journal submitted) 2006 • 1 paper cited 2 times (ArXiv submitted) 2006 • อนาคตงานวิจัย • 3 projects on going (3 papers) 2006+2007
Grants winning • TRF Research Scholar (1.2 Million Baht) 2006-2009 • TRF New Researcher (Postdoc.) Grant (480,000 Baht) 2004-2006 • 2 X 50,000 = 100,000 Baht from Sci. NU. Future Grants • 1 TRF New Researcher (Postdoc.) Grant (480,000 Baht) 2007-2008
Awards • CHE-TRF Outstanding Researcher 2005 • NU Top Cited Researcher 2006 • NU Highest JIF Paper 2006
Thanks • คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม • สกว. • มหาวิทยาลัยนเรศวร • สถาบันสำนักเรียนท่าโพธิ์ฯ • ผู้ร่วมงานวิจัยและลูกศิษย์ทุกคน
join the dark side! you don’t have to like him in order to do science research!