1 / 74

มารดาและทารก

มารดาและทารก. ตัวชี้วัดหลัก “ลดแม่ตาย ลูกตาย”. กลุ่มปกติ/ชุมชน. ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ การตรวจฟัน. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ปี 2551-2556. เป้าหมาย ไม่ น้อยกว่า ร้อย ละ 60. ที่มา : 2552-2555 รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด)

Download Presentation

มารดาและทารก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มารดาและทารก ตัวชี้วัดหลัก “ลดแม่ตาย ลูกตาย”

  2. กลุ่มปกติ/ชุมชน • ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ • ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ • การตรวจฟัน

  3. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ปี 2551-2556 เป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ60 ที่มา : 2552-2555 รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด) 2556 MIS

  4. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ปี 2556 รายอำเภอ เป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ60 ที่มา : คลังข้อมูล DW_Datacenter, ประมวลผลเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2556

  5. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ปี 2552-2556 เป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ60 ที่มา :ปี 2552-2555 รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด) ข้อมูลฝากครรภ์ครบ 4 ครั้ง ตามเกณฑ์ เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ปี 2556 MIS

  6. ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ปี 56 รายอำเภอ เป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ60 ที่มา : คลังข้อมูล DW_Datacenter, ประมวลผลเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2556

  7. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจและบันทึกสุขภาพช่องปาก/ฝึกทักษะ (ผลงานราย CUP จ.กำแพงเพชรปีงบประมาณ 2556 ) เป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ95 7

  8. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการรักษาแบบผสมผสานตามความจำเป็น (Comprehensive care) เป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ20 8

  9. กลุ่มเสี่ยง • ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ • การขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ • โภชนาการหญิงตั้งครรภ์ • การคัดกรองการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ

  10. ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ เป้าหมายไม่เกินร้อยละ10 ที่มา : รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด)

  11. ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2556 ราย รพ. เป้าหมายไม่เกินร้อยละ10 ที่มา : รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด)

  12. หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน ไอโอดีนในปัสสาวะ<150 ไมโครกรัม/ลิตร ไม่เกินร้อยละ50 ที่มา : สุ่มเก็บตัวอย่างปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ที่มาฝากครรภ์ในโรงพยาบาล 300 คน /ปี

  13. หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน ปี 2556 ราย รพ. เป้าหมายไม่เกินร้อยละ50 ที่มา : สุ่มเก็บตัวอย่างปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ที่มาฝากครรภ์ในโรงพยาบาล 300 คน /ปี

  14. กลุ่มป่วย / ตาย • ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม • ภาวะตกเลือดหลังคลอด • ภาวะขาดออกซิเจนขณะเกิด • มารดาตาย • ทารกน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม เสียชีวิตใน 28 วัน • ทารกตายปริกำเนิด • ทารก 0-1 ปีตาย

  15. ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ปี 2552-2556 เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ 7 ที่มา : รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด)

  16. ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ปี 2552-2556 เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ 7 ที่มา : รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด)

  17. ภาวะตกเลือดหลังคลอด 2552- 2556 เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ 5 ที่มา : 2552-2555 รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด) 2556 MIS

  18. ภาวะตกเลือดหลังคลอด เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ 5 ที่มา : คลังข้อมูล DW_Datacenter, ประมวลผลเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2556

  19. ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 2551- 2556 เป้าหมาย : ไม่เกิน 25 ต่อ 1,000 การเกิดมีชีพ ที่มา : 2552-2555 รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด) 2556 MIS

  20. ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจนทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน เป้าหมาย : ไม่เกิน 25 ต่อ 1,000 การเกิดมีชีพ ที่มา : คลังข้อมูล DW_Datacenter, ประมวลผลเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2556

  21. มารดาตาย • อัตราการตายมารดา : 100,000 การเกิดมีชีพ สาเหตุการตายมารดาปี 52-56 ที่มา : รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด)

  22. การใช้ partographในการดูแลการคลอด ที่มา : รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด)

  23. ทารกตายปริกำเนิด • อัตราทารกตายปริกำเนิด : 1,000 การเกิดทั้งหมด สาเหตุทารกตายปริกำเนิด เป้าหมาย: ไม่เกิน 9 ที่มา : รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด)

  24. ทารกน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม เสียชีวิตใน 28 วัน ปี 2556 ทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ทั้งหมด 583 คน เสียชีวิตภายใน 28 วันแรก 26คน ร้อยละ 4.45

  25. ทารกน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม เสียชีวิตใน 28 วัน ปี 2556 ทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ทั้งหมด 583 คน เสียชีวิตภายใน 28 วันแรก 26คน ร้อยละ 4.45

  26. ปกติ/ชุมชน เสี่ยง ป่วย / ตาย

  27. กลุ่มเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด พัฒนาการสมวัย ข้อมูลจากการสำรวจ จ.กพ IQ เฉลี่ย ๙๕.๒ (ต่ำสุดของเขต/ ลำดับที่ ๖๘ ของประเทศ) เน้นกระบวนการดูแลเด็กไทย ให้มี ความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า ๑๐๐ และ ลดโรค ที่พบบ่อยในเด็กปฐมวัย

  28. กลุ่มปกติ/ชุมชน • เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) • เด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย (ไม่น้อยกว่า 80) • เด็ก 0-2 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า70) • เด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย (ไม่น้อยกว่า 80) • เด็ก 3-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า 70)

  29. กลุ่มปกติ/ชุมชน • เด็กอายุ 1 ปีที่ได้รับ วัคซีน MMR (ร้อยละ 95) • เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่า 90) • เด็กปฐมวัย (อายุ 3 ปี) ปราศจากฟันผุ • เด็กอายุ ต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจ ฟัน และบันทึกสุขภาพช่องปาก • เด็กอายุ ต่ำกว่า 3 ปี พ่อแม่ได้รับการฝีกทักษะการแปรงฟันให้ลูก • เด็กอายุ ต่ำกว่า 3 ปี ได้รับฟลูออไรด์วานิช

  30. เด็ก ๐-๕ ปี มีพัฒนาการสมวัย เป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ85 ที่มา : คลังข้อมูล DW_Datacenter, ประมวลผลเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2556

  31. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เด็ก 0-2 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน

  32. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เด็ก 3-5ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน

  33. ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน MMR เป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ95 ที่มา : คลังข้อมูล DW_Datacenter, ประมวลผลเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2556

  34. เด็กอายุ 0 - 5 ปี ที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ที่มา : คลังข้อมูล DW_Datacenter, ประมวลผลเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2556

  35. เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่ได้รับการตรวจฟันและบันทึกสุขภาพ เป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ70 35

  36. เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการป้องกันฟลูออไรด์วานิช เป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 36

  37. กลุ่มป่วย / ตาย • ร้อยละของเด็กปฐมวัย (อายุ 3 ปี ) ที่เกิดโรคฟันน้ำนมผุ (ร้อยละ 57) • เด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ได้รับการดูแลรักษา

  38. เด็กอายุ 3 ปี เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนม เป้าหมายไม่เกิน ร้อยละ57 38

  39. ร้อยละของเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ได้รับการ ดูแลรักษาเปรียบเทียบข้อมูล ปีงบประมาณ 2553 – 2556 ที่มา : รายงาน PHIM V.3 , รายงานติดตามเด็กเจาะเลือด ปี 2556

  40. เด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ได้รับการดูแลรักษา (ร้อยละ 100) ที่มา : รายงาน PHIM V.3 , รายงานติดตามเด็กเจาะเลือด ปี 2556

  41. สถานการณ์โรคติดต่อที่สำคัญกลุ่มอายุ 0 – 5 ปี โรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญได้แก่ 1.โรคอุจจาระร่วง 2. โรคมือ เท้า ปาก 3. โรคปอดบวม

  42. อัตราป่วยของโรคอุจจาระร่วง เด็กอายุ 0 – 5 ปี จำแนกรายอำเภอ เฉลี่ย 5 ปี ย้อนหลัง(2551- 2555) จังหวัดกำแพงเพชร

  43. อัตราป่วยของโรคมือ เท้า ปาก เด็กอายุ 0 – 5 ปี จำแนกรายอำเภอ เฉลี่ย 5 ปีย้อนหลัง(2551- 2555) จังหวัดกำแพงเพชร

  44. อัตราป่วยของโรคปอดบวม เด็กอายุ 0 – 5 ปี จำแนกรายอำเภอ เฉลี่ย 5 ปีย้อนหลัง (2551- 2556) จังหวัดกำแพงเพชร

  45. การบูรณาการงาน/ภาคีเครือข่ายการบูรณาการงาน/ภาคีเครือข่าย • คณะกรรมการงานอนามัยแม่และเด็ก (MCH Board) พัฒนาระบบบริการ (Service Plan) - โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว - ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว - ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ - WCC คุณภาพ (การคัดกรองพัฒนาการเด็ก ตามแบบอนามัย 55/ TDSI ระบบเครือข่ายการดูแลส่งต่อ)

  46. ฟัน ตั้งครรภ์วัยเรียน อ้วน/ NCD วัยรุ่น วัยเรียน IQ ยาเสพติด สุรา/บุหรี่

  47. ๑. โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม • นักเรียน ป.๑ ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน • เด็กวัยเรียน (๖-๑๒ ปี) มีส่วนสูงระดับดี • เด็ก ๖ – ๑๒ ปี ได่รับวัคซีนกระตุ้น • ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ • ในประชากรอายุ ๑๕ – ๑๙ ปี. กลุ่มปกติ/ชุมชน

  48. ร้อยละ 70 ของเด็ก ป.1 ได้รับการตรวจบันทึกสุขภาพช่องปากปี 2556 48

  49. นักเรียน ป.1ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันกรามถาวรซี่ที่หนึ่งครอบคลุมร้อยละ 30ปี 2556 49

  50. นักเรียน ป.1 ได้รับบริการรักษาผสมผสานตามความจำเป็นครอบคลุมร้อยละ 20 ปี 2556 50

More Related