1.74k likes | 2.02k Views
ข้อมูลทั่วไป. วิสัยทัศน์จังหวัดกำแพงเพชร. “ ผู้นำการผลิตและแปรรูปเกษตรปลอดภัย และการท่องเที่ยวถิ่นมรดกโลก ”. Position การพัฒนา. เมืองเกษตรปลอดภัย อุตสาหกรรมแปรรูป ท่องเที่ยวถิ่นมรดกโลกและธรรมชาติ. ประเด็นยุทธศาสตร์. 1. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การแปรรูป และการตลาดสินค้าเกษตร
E N D
วิสัยทัศน์จังหวัดกำแพงเพชรวิสัยทัศน์จังหวัดกำแพงเพชร “ผู้นำการผลิตและแปรรูปเกษตรปลอดภัย และการท่องเที่ยวถิ่นมรดกโลก” Position การพัฒนา เมืองเกษตรปลอดภัย อุตสาหกรรมแปรรูป ท่องเที่ยวถิ่นมรดกโลกและธรรมชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์ • 1. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การแปรรูป และการตลาดสินค้าเกษตร • 2. ส่งเสริม พัฒนา และบริหารจัดการการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพสู่สากล • 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการเกษตร การท่องเที่ยว • ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตที่ดี
วิสัยทัศน์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชรวิสัยทัศน์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร • “ประชาชนกำแพงเพชร มีสุขภาพดี โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน • ภายใต้การพัฒนาระบบสุขภาพอย่างมีมาตรฐานภายในปี 2568” 1.พัฒนาระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล 2.พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ 1. พัฒนาระบบสุขภาพให้คุณภาพ ประสิทธิภาพทั่วถึงและเป็นธรรม 2. เสริมสร้างและสนับสนุนให้ประชาชน มีสุขภาพและจิตสำนึกที่ดีด้านสุขภาพ [GG] [IP-OP] • ยุทธศาสตร์ พันธกิจ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านสุขภาพ 4. การปฏิบัติตามกฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ [GG] [PP] 3.สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค และคุ้มครองผู้บริโภคโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 4.กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ E0 = 80 ปี HALE = 72 ปี
การแบ่งเขตปกครอง • 11 อำเภอ • 78 ตำบล • 956 หมู่บ้าน/27 ชุมชนเมือง • 25 เทศบาล(3 ทม./22 ทต.) • 64 อบต. /1 อบจ. GPP อันดับ 2 ของเหนือ(ปี 55) ภาคเกษตร 20% อุตสาหกรรม 52% (20%เป็นอุตสาหกรรมเกษตร) การท่องเที่ยว 11.7% จ.สุโขทัย จ.ตาก จ.พิษณุโลก จ.พิจิตร พม่า ประชากร 728,631 คน( 1% ของ POP ประเทศ )บ้าน 253,170 หลังคาเรือน เฉลี่ย 3 คนต่อหลัง ประชากรสูงอายุ =13.73 % พื้นที่ 8,600 ตร.กิโลเมตร(1.7% ของประเทศ) เกษตร 60 % ป่าไม้ 22 % ที่อยู่อาศัย 18 % จ.นครสวรรค์
โครงสร้างประชากร ปี 2556 ปี 2547 หญิง ชาย หญิง ชาย ประชากร ชาย 361,867 คน | หญิง 366,764 คน ชาย 360,001 คน | หญิง 365,435 คน วัยเด็ก 21.41% วัยแรงงาน 67.10% สัดส่วน วัยเด็ก 18.25 % วัยแรงงาน 66.18% สูงอายุ 9.93% ภาระพึ่งพิง 46.70% สูงอายุ 13.73 % ภาระพึ่งพิง 48.32%
สถานะสุขภาพของประชาชนสถานะสุขภาพของประชาชน อายุคาดเฉลี่ย (Life Expectancy) เป้าหมาย E0 = 80 ปี , HALE = 72 ปี
ความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพ ข้าราชการ 3.85 % ประกันสังคม 14.52 % ว่างสิทธิ์ 0.41 %
ทรัพยากรด้านสาธารณสุขทรัพยากรด้านสาธารณสุข * กำลังก่อสร้างตึก 8 ชั้น 156 เตียง โรงพยาบาลทั่วไป (410 เตียง) 1แห่ง สถานบริการสาธารณสุขนอกสังกัด/เอกชน รพ. 90 เตียง2แห่ง รพ.สต.สังกัด อปท. 4 แห่ง ศูนย์บริการฯ เทศบาล 5 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 2 แห่ง คลินิกแพทย์ 64 แห่ง คลินิกทันตแพทย์17 แห่ง สถานพยาบาล 128 แห่ง ร้านขายยาปัจจุบัน 130 แห่ง ร้านขายยาแผนโบราณ 52 แห่ง โ รพ. 60 เตียง2แห่ง โ รพ. 30 เตียง 5 แห่ง รพ. 10 เตียง1แห่ง Ext.OPD 1 แห่ง รพ.สต.เดี่ยว 25แห่ง รพ.สต.เครือข่าย 46 เครือข่าย ศสม.2 แห่ง รพ.สต.ในสังกัด 121 แห่ง
แพทย์ บุคลากรสาธารณสุขต่อประชากร เภสัชกร ทันตแพทย์ • ประเทศ 1 : 5,000 • เขต 3 1 : 5,717 • กำแพงเพชร 1 : 6,807 • ประเทศ 1 : 5,000 • เขต 3 1 : 9,328 • กำแพงเพชร 1 : 11,561 • ประเทศ 1 : 8,000 • เขต 3 1 : 13,884 • กำแพงเพชร 1 : 15,497 พยาบาลวิชาชีพ คน • ประเทศ 1 : 951 • เขต 3 1 : 702 • กำแพงเพชร 1 : 730 บุคลากรแพทย์แผนไทย 99 คน - รพท.8 คน, รพช.20 คน - รพ.สต. 71 คน อสม.ที่ได้รับค่าป่วยการ 11,957 คน
อัตรากำลังเจ้าหน้าที่สายวิชาชีพอัตรากำลังเจ้าหน้าที่สายวิชาชีพ สายงานวิชาชีพหลักในโรงพยาบาล (ร้อยละของ FTE) สายงานวิชาชีพหลักในระดับปฐมภูมิ (สัดส่วนต่อ ปชก.)
เป้าหมายและภารกิจ 10 เดือน เป้าหมาย E0 = 80 ปี , HALE = 72 ปี
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง อัตราตายต่อแสนประชากร พฤติกรรมเสี่ยง กินหวาน มัน เค็ม , ผักน้อยสารปนเปื้อนในอาหาร ออกกำลังกายน้อย, อ้วน เครียด, สุรา บุหรี่ สิ่งแวดล้อม/มลภาวะเป็นพิษ ลดการตายก่อนวัยอันควร 25% ในปี 2568
อัตราป่วยของผู้ป่วยนอกตามรหัส ICD10 อัตราป่วยต่อพันประชากร
อัตราป่วยของผู้ป่วยในตามรหัส ICD10 อัตราป่วยต่อแสนประชากร
10 อันดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (มค.-ก.ค.57) อัตราต่อแสนประชากร ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ มือเท้าปาก ปอดบวม สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ เพศ เพศ เพศ เพศ เพศ ชาย ชาย ชาย ชาย ชาย หญิง หญิง หญิง หญิง หญิง
OP Visit ภาพรวมจังหวัด Operating Activity : Workload ผู้รับบริการ(ครั้ง) NCD = 20-25% 10 เดือน
IP Visit ภาพรวมจังหวัด Operating Activity : Workload • 50% Admit รพ.กำแพงเพชร • 1/3 Refer จากโรงพยาบาลชุมชน • Acute Appendicitis • Labour Pain • UGIH NCD = 20-25% 10 เดือน
ระบบข้อมูลสำหรับบริหารจัดการระบบข้อมูลสำหรับบริหารจัดการ มีระบบคลังข้อมูลสุขภาพที่การเชื่อมโยงข้อมูลจากหน่วยบริการทุกแห่งและ จัดทำระบบ MISสำหรับบริการจัดการ วางแผน ติดตาม ควบคุม กำกับ และประเมินผลของหน่วยงานและหน่วยบริการทุกระดับผ่านทางเว็บไซต์
ระบบข้อมูลสำหรับบริหารจัดการระบบข้อมูลสำหรับบริหารจัดการ • มีตัวชี้วัด 123 ตัวชี้วัดโดยประมวลผลจาก Data Center และใช้บันทึกผ่านทางเว็บไซต์ ซึ่งครอบคลุมตัวชี้วัดทั้งหมดของกระทรวงและเขต และมีระบบการติดตาม ตรวจสอบ ความถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา (Monitoring Data) • การจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้มมายัง สสจ. ในปีงบประมาณ 2557 ส่งได้ครบถ้วนทุกระดับ
การเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ณ 15 กรกฎาคม 2557 เป้าหมายไตรมาสที่ 4 : ร้อยละ 95 หน่วย : ล้านบาท
การบริหารงบประมาณร่วม DHS • เป้าหมาย : ร้อยละ 66.72 ประเมินผลการตรวจสอบคุณภาพบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ คะแนนภาพรวมแม่ข่าย คะแนนภาพรวมลูกข่าย 100 %
แผนสุขภาพ PP งบประมาณ 215,661,173 บาท Service Plan สัดส่วนแหล่งงบประมาณ สัดส่วนยุทธศาสตร์
สัดส่วนงบประมาณ เปรียบเทียบ งบประมาณ 215,661,173 บาท 4 ยุทธ-> 25 แผนงาน -> 614 โครงการ ข้อมูล ณ 30 ก.ค.2557
สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดปี 2557 ตัวชี้วัดที่รอประเมิน • ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปีที่มีปัญหาฟันผุ • เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย • ร้อยละของ ER,EMS คุณภาพ
ตัวชี้วัดปี 2557 ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์
ตัวชี้วัดปี 2557 ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาพตามกลุ่มวัย และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และฝากครรภ์ครบเกณฑ์ เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ60 ข้อมูลสำรวจ ANC<12 = 68.3 % ANC 5 ครั้ง = 65.0 % • ปัญหาการฝากครรภ์ไม่ครบเกณฑ์ • คลอดก่อนกำหนด ขาดครั้งคุณภาพที่ 5 ( 38 wk 2) • ฝากครรภ์ครั้งแรกหลัง 12 wk ขาดครั้งคุณภาพที่ 1 (12 wk) • มารับบริการไม่ตรงนัด เมื่อ key ข้อมูลไม่ตรงกำหนด จะไม่ได้ครั้งคุณภาพ • ระบบการ key ยังพบปัญหาไม่ขึ้นครั้งคุณภาพให้ในอายุครรภ์ที่มารับบริการ จำแนกรายอำเภอ
ทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 ข้อมูลจำแนกตามโรงพยาบาลที่คลอด ข้อมูลสำรวจ LBW = 16.9 % ปัญหาด้าน LBW 2557 ข้อมูลจำแนกรายอำเภอ ปี 2557 1. ฝากครรภ์ไม่ครบ 60.0 % 2. ไม่ฝากครรภ์ 4.0 % 3. ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 3.1 คลอดก่อนกำหนด 40.4 % 3.2 ภาวะการเจริญเติบโตช้าในครรภ์(IUGR )38.2% 3.3 อายุน้อยกว่า 20 ปี 27.7 % แนวทางแก้ไข - พัฒนาบริการ ANC คุณภาพ - การดูแลโภชนาการหญิงมีครรภ์ - ชุมชนเข้ามาส่วนร่วมในการแก้ไข
ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ หญิงคลอดมีภาวะโลหิตจางที่ตรวจครั้งที่ 1 พบค่า Hct < 33 ไม่เกินร้อยละ 10 ข้อมูลเปรียบเทียบผลการตรวจ Hct1 , Hct2 และ Hctที่ห้องคลอด
เด็กแรกเกิด 2 วันขึ้นไปได้รับการเจาะเลือดตรวจ TSH TSH มากกว่า 11.2 มล.ยูนิต/ลิตรไม่เกินร้อยละ 3 ร้อยละผลงานรายอำเภอ ปี 2556 - 2557 WHO: 3-19.9% ขาดสารไอโอดีนเล็กน้อย
เด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ข้อมูลสำรวจ Breast feeding = 35.0 % ร้อยละเด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว จำแนกรายอำเภอ
ภาวะตกเลือดหลังคลอด ไม่เกินร้อยละ 5 • ปัญหาตกเลือดหลังคลอด • การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี • รกค้าง • การวัดปริมาณการสูญเสียเลือด ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด ปี 2557 จำแนกรายโรงพยาบาล
ภาวะทารกแรกเกิดขาดออกซิเจนภาวะทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน • ปัญหาทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน • ทารกคลอดก่อนกำหนด น้ำหนักน้อย • มารดาครรภ์เสี่ยง • มารดาซีด อัตราทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน ปี 2556 จำแนกรายโรงพยาบาล ไม่เกิน 25 ต่อ 1,000 การเกิดมีชีพ
อัตรามารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อแสนการเกิดมีชีพ สัดส่วนสาเหตุการตาย , N=8
กิจกรรมแก้ไขปัญหากลุ่มมารดาและทารกกิจกรรมแก้ไขปัญหากลุ่มมารดาและทารก • รณรงค์ฝากครรภ์ก่อน 12 wk เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • อสม.เชี่ยวชาญ • ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ปกติ/ชุมชน • 18 โครงการพื้นที่ งบประมาณ 3,537,565 บาท • รพ.สายใยรักแห่งครอบครัว • ANC คุณภาพ • LR คุณภาพ • โรงเรียนพ่อแม่ • ส่งเสริมโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ เสี่ยง • 14 โครงการพื้นที่ งบประมาณ 628,770 บาท • SERVICE PLAN • สูติกรรม ทารกแรกเกิด • พัฒนาบุคลากร • Case conference ป่วย • 2 โครงการจังหวัด งบประมาณ 187,670 บาท • 2 โครงการพื้นที่ งบประมาณ 24,300 บาท
เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย โครงการสนับสนุน 21 โครงการ งบประมาณ 4,243,695บาท
ผลการสำรวจ/การประเมินพัฒนาการเด็กผลการสำรวจ/การประเมินพัฒนาการเด็ก
เด็กปฐมวัย(3 ปี) เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมไม่เกินร้อยละ 54 ปัจจัยเสี่ยงสาเหตุ 1. อนามัยช่องปากไม่สะอาด 2. มีพฤติกรรมการดื่มนมหวาน ดูดนมหลับคาปาก 3. ไม่ได้แปรงฟัน แปรงไม่สะอาด 4. ทานรสหวาน ขนมกรุบกรอบเกินวันละ 2 ครั้ง
เด็กวัยเรียน (ป.6) เกิดโรคฟันผุในฟันถาวร ไม่เกินร้อยละ 45 ปัจจัยเสี่ยงสาเหตุ 1. อนามัยช่องปากไม่สะอาด 2. มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารรสหวาน ดื่มน้ำอัดลม รับประทานขนมกรุบกรอบเกินวันละ 2 ครั้ง โครงการสนับสนุน 13 โครงการ งบประมาณ 3,805,362 บาท
เด็กวัยเรียน 6-12 ปี มีภาวะอ้วนไม่เกินร้อยละ 15
ค่าเฉลี่ยสติปัญญาเด็กไทยเปรียบเทียบทั้งประเทศปี 2554 จากการสำรวจของกรมสุขภาพจิต กำแพงเพชร มี IQ เฉลี่ย 95.2 (ต่ำสุดของเขต/ที่ 68 ของประเทศ)
การคัดกรองปัญหาพฤติกรรม IQ/EQ ในเด็กวัยเรียน นักเรียน ป.1 ใน 8 โรงเรียน จำนวน 148 คน
โครงการ/กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา-พัฒนาสติปัญญา กิจกรรมสนับสนุน 1. ประเมิน/คัดกรอง/กระตุ้น/ส่งเสริมกิจกรรมการเรียน เด็กประถมศึกษาปีที่ 1 2. การให้ความรู้ในการการทำแผนการเรียนรู้รายบุคคล (Individualized Educational Program) 3. สุ่มสำรวจระดับสติปัญญาเด็กนักเรียน ระดับ ป.1 – ม.6
สถานการณ์สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพ • ความชุกในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่เกินร้อยละ 13
อัตราการตั้งครรภ์มารดาอายุ <20 ปี สาเหตุของปัญหา 1. ไม่ได้เตรียมตัวมีเพศสัมพันธ์ 2. มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน 3. ความไว้ใจคู่นอน
สถานการณ์การคุมกำเนิด-ทำแท้งสถานการณ์การคุมกำเนิด-ทำแท้ง สัดส่วนการคุมกำเนิด สถิติจำนวนการทำแท้ง ปี 2554-2557
อัตราป่วยกามโรค สาเหตุของปัญหา 1. ความไว้ใจคู่นอน 2. ไม่ได้เตรียมตัวมีเพศสัมพันธ์ อัตราป่วยกามโรค ปี 2557 เปรียบเทียบกับอัตราป่วยของกลุ่มอายุ 11-20 ปี จำแนกรายอำเภอ