200 likes | 671 Views
Cognitive Behavioral Therapy (CBT). in Amphetamine Abuse Treatment Programme Somchart Suthikarn M.D. Child & Adolescent Psychiatrist. แนวคิดจิตบำบัดที่สำคัญ ในโปรแกรมการบำบัด เด็กและเยาวชนกระทำผิด ใช้สารเสพติด.
E N D
Cognitive Behavioral Therapy(CBT) in Amphetamine Abuse Treatment Programme Somchart Suthikarn M.D. Child & Adolescent Psychiatrist
แนวคิดจิตบำบัดที่สำคัญในโปรแกรมการบำบัดเด็กและเยาวชนกระทำผิด ใช้สารเสพติด • การเรียนรู้ ปรับอารมณ์ เปลี่ยนความคิด(ทัศนคติ) เปลี่ยนพฤติกรรม Cognitive Approach จัดการกับความคิด Behavioral Approach ฝึกแก้ไขพฤติกรรม เป็นแบบอย่าง
งานวิจัยพบว่า ทักษะที่เรียนรู้เกี่ยวกับการป้องกันการกลับไป เสพยาซ้ำ (Relapse prevention) ยังคงอยู่ ในผู้รับการบำบัด หลังจากครบการรักษาแล้ว โดยใช้เทคนิคของการปรับความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavior Therapy) ช่วยให้ผู้เรียนรู้แยกแยะพฤติกรรม ที่เป็นปัญหาและแก้ไขได้และส่งเสริมให้เกิดการควบคุมตนเอง
สีแดง แสดงบริเวณสมองที่ถูกกระตุ้นในผู้ติดยาเมื่อเกิดความรู้สึกอยากยา (Craving)
ผลการบำบัดด้วย COGNITIVE BEHAVIOR THERAPY ตัวอย่างผู้ป่วย Miss A
ผลการบำบัดด้วย COGNITIVE BEHAVIOR THERAPY ตัวอย่างผู้ป่วย Miss B
Matrix Treatment Philosophy กุญแจสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของการบำบัด คือ 1. การให้กำลังใจจากผู้ให้การบำบัด 2. การมีส่วนร่วมในกลุ่มบำบัด 3. การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการกลับไปเสพซ้ำ 4.ความมีส่วนร่วมของครอบครัว 5. โครงสร้างของโปรแกรมบำบัดที่เหมาะกับผู้ป่วย
จิตวิทยาการให้คำปรึกษาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา • ยอมรับและเข้าใจธรรมชาติของผู้ติดสารเสพติด(กลไกทางจิต) • เข้าใจปัญหาของเด็ก เยาวชน และครอบครัว • สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับครอบครัว • สร้างแรงจูงใจช่วยให้เห็นปัญหา(Motivational Interview) • ให้กำลังใจ ไม่สิ้นหวัง
รูปแบบการให้คำปรึกษา • Individual • Family • Group
เทคนิคการสัมภาษณ์ • คุยเรื่องทั่วไป ที่เยาวชนสนใจ ลดความกังวล • เชื่อมโยงด้วยประวัติเชิงคู่ขนาน( parallel chronological of event)มากกว่าถามตรงๆ( linear History) • ท่าทีที่เป็นกลาง รับฟัง ไม่ตัดสิน ไม่โต้เถียง • ลดความรู้สึกผิดไม่กล่าวโทษเยาวชน ญาติ • คำถามปลายเปิด(openquestion) สื่อสารสองทาง(2-way) • เสนอทางออก บอกทางเลือกให้คิดถึงข้อดี ข้อเสีย(pros & cons) • ช่วยให้รู้จักวิธีคิด วิเคราะห์เหตุการณ์ ( A B C )
รู้จักคิดและวิเคราะห์ A B C A = ACTIVATING EXPERIENCE (ตัวกระตุ้น) B = BELIEF & BEHAVIOR (ความเชื่อ , พฤติกรรมแสดงออก) C = CONSEQUENCE (ผลกระทบที่เกิดขึ้น)
เทคนิคของการปรับความคิดพฤติกรรมและอารมณ์เทคนิคของการปรับความคิดพฤติกรรมและอารมณ์ ในเด็กและวัยรุ่น (10 – 17 ปี) หัวข้อสำคัญ 1. มุมมองต่อปัญหา 2. ผลกระทบที่เกิดขึ้น 3. รู้จักตนเอง 4.รู้จักตัวกระตุ้น 5. รู้จักอารมณ์โกรธ 6. การพูดกับตัวเองในใจ
ทักษะที่สำคัญสำหรับเด็กและเยาวชนทักษะที่สำคัญสำหรับเด็กและเยาวชน • ทักษะการจัดการกับความโกรธ • ทักษะการจัดการกับความเครียด • ทักษะการสื่อสาร • ทักษะการปฏิเสธ
วัตถุประสงค์ของการให้คำปรึกษาครอบครัววัตถุประสงค์ของการให้คำปรึกษาครอบครัว • เข้าใจพฤติกรรมที่นำมาสู่เหตุการณ์วิกฤต • ลดความขัดแย้งภายในครอบครัว • เข้าใจเทคนิคการปรับพฤติกรรม • การแก้ไขปัญหาด้วยเหตุผล • จัดการกับความเครียดและอารมณ์โกรธ • ทักษะการสื่อสารที่ดี • การฝึกความรับผิดชอบ และให้คำชม
การพัฒนาบทบาทของครอบครัวการพัฒนาบทบาทของครอบครัว 1. ทักษะการสื่อสาร 2. การให้ความเอาใจใส่ 3. พัฒนาความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง 4. การควบคุมตนเอง 5. ฝึกความรับผิดชอบ 6. ฝึกการพึ่งพาตนเองให้มากขึ้น