1 / 29

ความเป็นมาของ การจัดทำชุดความรู้การจัดการซ้อมแผน เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่ และ

ความเป็นมาของ การจัดทำชุดความรู้การจัดการซ้อมแผน เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่ และ การเตรียมทีมวิทยากร. ประสบการณ์ การเตรียมความพร้อมประเทศไทย. โรคไข้หวัดนก ในคน. ครม. เห็นชอบ 10 ก.ค. 2550. คณะรัฐมนตรี.

metea
Download Presentation

ความเป็นมาของ การจัดทำชุดความรู้การจัดการซ้อมแผน เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่ และ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเป็นมาของ การจัดทำชุดความรู้การจัดการซ้อมแผน เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่ และ การเตรียมทีมวิทยากร

  2. ประสบการณ์การเตรียมความพร้อมประเทศไทยประสบการณ์การเตรียมความพร้อมประเทศไทย

  3. โรคไข้หวัดนกในคน

  4. ครม. เห็นชอบ 10 ก.ค. 2550 คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการอำนวยการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ (รองนายกฯ) แผนยุทธศาสตร์ป้องกัน แก้ไข และเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2553)

  5. (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์โรคติดต่ออุบัติใหม่ (พ.ศ. 2555-2559) ยุทธศาสตร์ที่ 1การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง และการป้องกันควบคุมโรคในคน สัตว์ สัตว์ป่า และสิ่งแวดล้อม รวมถึงห้องปฏิบัติการ และการรักษาในคน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยงและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่า ให้ปลอดโรค ยุทธศาสตร์ที่ 3การจัดการความรู้ และการวิจัยพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 4การพัฒนาระบบ และกลไกการบริหารจัดการเชิงบูรณาการทั้งในการเตรียมความพร้อม และการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉินด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสื่อสารความเสี่ยง และประชาสัมพันธ์

  6. โครงสร้างคณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อมป้องกันและควบคุมแก้ไขสถานการณ์การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ในปัจจุบัน (รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน) นายกรัฐมนตรี ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ที่เกี่ยวข้อง ภาคเอกชน คณะกรรมการอำนวยการฯ (รองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน) ประสานกับองค์กรระหว่างประเทศ/ นานาชาติ WHO US CDC ….… กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย)

  7. การเตรียมความพร้อมโดย ความร่วมมือพหุภาคี Multi-sector cooperation ภาคเอกชน Private ภาครัฐ Public ภาคบริการพื้นฐาน (Essential services) พลังงาน ไฟฟ้า น้ำประปา ขนส่ง คมนาคม สื่อสาร / สารสนเทศ การเงิน / ธนาคาร รักษาความปลอดภัย 22 Aug 07

  8. การเตรียมพร้อม รับการระบาดใหญ่ ใช้หลายยุทธศาสตร์ ยาต้านไวรัส วัคซีน การดูแลผู้ป่วย อุปกรณ์ป้องกันตัว ด้านการ แพทย์/เวชภัณฑ์ (Medical/Pharma.) ส่งเสริมอนามัยบุคคล จำกัดการเดินทาง แยกกักผู้สัมผัสโรค จำกัดกิจกรรมทางสังคม ให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ ด้านสาธารณสุข/สังคม (Non-Pharmaceutical) ด้านเศรษฐกิจและสังคม (Social and economic systems - to keep the society running) รักษาความมั่นคง /กฎหมาย จัดหาอาหารและน้ำดื่ม จ่ายพลังงาน เชื้อเพลิง บริการคมนาคมขนส่ง บริการสื่อสารโทรคมนาคม จัดระบบการเงิน ธนาคาร

  9. นโยบาย นำนโยบายและแผน สู่การปฏิบัติ แผน ยุทธศาสตร์ ของประเทศ แผนปฏิบัติการ ของหน่วยงานต่างๆ ในภาครัฐ เอกชน รัฐวิสาหกิจ โครงการ / กิจกรรม แนวทางปฏิบัติ (Guidelines) มาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติ (SOPs) รองรับแผนปฏิบัติการ ในทุกภาคส่วน การซ้อมแผนความพร้อมทุกระดับ ซ้อมบนโต๊ะ (Tabletop) / ซ้อมปฏิบัติ (Drills)

  10. แผนภูมิขั้นตอนการดำเนินงานเตรียมความพร้อมป้องกันแก้ไขและเตรียมความพร้อมรับปัญหาการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ประเทศไทย คณะรัฐมนตรี • เผยแพร่ • สู่ทุกภาคส่วน แผนยุทธศาสตร์ฯ ป้องกันแก้ไขและเตรียมพร้อมรับปัญหาไข้หวัดนก และการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2553) • จัดทำแผน • โดยคณะทำงาน แผนปฏิบัติการแม่บท (Master Operation Plan) • ขอความเห็นชอบจาก ครม. • เผยแพร่สู่ทุกภาคส่วน • ทุกระดับ • ส่วนกลาง • ส่วนภูมิภาค • ท้องถิ่น / ชุมชน • แผนปฏิบัติการ • ภาครัฐ (ทุกกระทรวง) • ภาคเอกชน • ภาครัฐวิสาหกิจ • สนับสนุน • การจัดทำแผน • ในทุกภาคส่วน ดำเนินการเตรียม ความพร้อมตามแผน • อำนวยการ • ประสาน / สนับสนุน • กำกับติดตาม ทุกระดับ ทุกภาคส่วน วงจร การเตรียม ความพร้อม ซ้อมแผน ความพร้อม เป็นระยะ ปรับแผน เป็นระยะ

  11. ชนิดบนโต๊ะ (Tabletop exercise) ฝึกปฏิบัติการเฉพาะด้าน (Drill)

  12. ระดับกรม เริ่ม มีนาคม 49 ทำแล้วทุกจังหวัด ระดับจังหวัด ปฏิทิน การซ้อมแผนบนโต๊ะ เมื่อรัฐบาลพร้อม ระดับประเทศ 8มี.ค. 50 ระดับกระทรวง เริ่ม ก.ค. 49

  13. TTX in Nakorn-nayok การฝึกซ้อมแผนชนิดบนโต๊ะ ระดับจังหวัด

  14. การฝึกซ้อมแผนชนิดบนโต๊ะการฝึกซ้อมแผนชนิดบนโต๊ะ ระดับกรมควบคุมโรค 27 Mar 08

  15. การฝึกซ้อมแผนชนิดบนโต๊ะการฝึกซ้อมแผนชนิดบนโต๊ะ ระดับกระทรวงสาธารณสุข 27 Mar 08

  16. ชุดฝึกซ้อมฉบับล่าสุด ปี 2553

  17. การจัดการฝึกซ้อมแผน ของกลุ่มประเทศอาเซียนบวกสาม (ASEAN+3 Exercise Management Training Program)

  18. ปี 2551 เพื่อฝึกอบรมบุคลากรทางสาธารณสุขในภูมิภาค ให้มีความรู้และความชำนาญ ในการออกแบบการจัดและการฝึกอบรมที่มีประสิทธิภาพ และดำเนินการฝึกอบรมบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ได้ วัตถุประสงค์

  19. กิจกรรมการประชุม 5 ครั้ง (2) ADPC และ สธ. ร่วมจัดทำคู่มือการจัดการฝึกซ้อมฯ (พ.ค. - มิ.ย. 51) (1) การประชุมนำร่อง ณ กรุงเทพฯ (31 มี.ค. - 4 เม.ย. 51) (3)ประชุมฝึกซ้อมแผน ระดับภูมิภาค (กลุ่ม BIMP) ณ ประเทศบรูไน (9 - 13 มิ.ย. 51) (5)การประชุมติดตามการดำเนินการ (มี.ค. 52) (4)ประชุมฝึกซ้อมแผน ระดับภูมิภาค (กลุ่ม ACMECS) (ก.ย. 51)

  20. ประชุมฝึกซ้อมแผนระดับภูมิภาค (กลุ่ม BIMP) ครั้งที่ 3

  21. ประชุมฝึกซ้อมแผนระดับภูมิภาค (กลุ่ม ACMECS) ครั้งที่ 4

  22. (ASEAN Plus Three Exercise Management for Communicable Disease Emergencies : A TRAINING MANUAL)

  23. การดำเนินงาน : การจัดการซ้อมแผน เผยแพร่ ชุดความรู้การจัดการซ้อมแผน เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่ การฝึกอบรมถ่ายทอด องค์ความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการซ้อมแผน 1 ครั้ง (มีนาคม 2554) จำนวน 4,200 ชุด ในปี 2554

  24. การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการฝึกซ้อมแผน สำหรับโรคติดต่ออุบัติใหม่ ระหว่างวันที่ 21 – 25 มี.ค. 2554 ณ เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี

  25. ชุดความรู้การจัดการซ้อมแผน เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่

  26. การดำเนินงานในปี 2555 โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการซ้อมแผน กรณีโรคติดต่ออุบัติใหม่ ถ่ายทอดให้กับบุคลากรสาธารณสุข ที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ 6ครั้ง (ก.พ.-พ.ค.2555) สคร. 1 กทม. สคร. 2 สระบุรี สคร. 3 ชลบุรี สคร. 7 อุบลราชธานี สคร. 10 เชียงใหม่ สคร. 12 สงขลา เตรียมทีมวิทยากร 1 ครั้ง (ม.ค. 2555) สอม. สรุปบทเรียน

  27. ตารางการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาศักยภาพการจัดการซ้อมแผน : กรณีโรคติดต่ออุบัติใหม่

  28. วัตถุประสงค์ของการประชุมวัตถุประสงค์ของการประชุม • เน้นพัฒนาศักยภาพบุคลากร ในการถ่ายทอดองค์ความรู้และฝึกทักษะการจัดการฝึกซ้อมแผน และพัฒนาประสิทธิภาพ ในการเตรียมความพร้อมรับภาวะฉุกเฉินจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ • ขยายผล ครู ก (Training for Trainer)

  29. การระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่ผ่านมา ไข้หวัดนก H5N1 ไข้หวัดใหญ่ 2009 โรคอุจจาระร่วง O 104 ไข้หวัดใหญ่ไอโอวา โรคลีเจียนแนร์

More Related