1 / 91

โดย พรรณี เทียนทอง

โครงการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารการพัสดุ. การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา การควบคุม และการจำหน่ายพัสดุ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 (และที่แก้ไข เพิ่มเติม). โดย พรรณี เทียนทอง. กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย โทร. 02-590-4105 , 0 85-8402363.

Download Presentation

โดย พรรณี เทียนทอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารการพัสดุโครงการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารการพัสดุ การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา การควบคุม และการจำหน่ายพัสดุ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 (และที่แก้ไขเพิ่มเติม) โดย พรรณี เทียนทอง กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย โทร. 02-590-4105 ,085-8402363 Pannee.t@anamai.mail.go.th, www.audit.anamai.moph.go.th

  2. วงจรการบริหารพัสดุ กำหนดนโยบาย วางแผน กำหนด/ประมาณความต้องการ จัดหา ควบคุม/เก็บรักษา/แจกจ่าย บำรุงรักษา จำหน่าย

  3. หลักการจัดหาพัสดุ • พัสดุที่จัดหา • คุณภาพดี / เหมาะสม • มีปริมาณเพียงพอ • ส่งของตรงเวลา • ราคาเหมาะสม / ไม่แพง / ประหยัด / คุ้มค่า หลักการพิจารณา โปร่งใส เปิดเผย เป็นธรรม ตรวจสอบได้

  4. การเตรียมการจัดหาพัสดุการเตรียมการจัดหาพัสดุ • พิจารณาความจำเป็น/ความต้องการในการใช้งาน • พิจารณากำหนดคุณลักษณะเฉพาะ/รูปแบบ/รายการละเอียด • พิจารณาวิธีการจัดหา • ดำเนินการจัดหา • คัดเลือกผู้ขาย/ผู้รับจ้าง • แจ้ง/ทำความตกลง หรือทำสัญญา • ควบคุมการปฏิบัติตามสัญญา • ตรวจรับ • ลงบัญชี/ทะเบียน และส่งมอบผู้ใช้งาน • ตรวจสอบความชำรุดบกพร่องในระหว่างรับประกัน

  5. ข้อควรระวัง ระเบียบ ข้อ ๑๕ ทวิ “ การจัดหาพัสดุตามระเบียบนี้ ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอนของการ จัดหา ต้องดำเนินการโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่าง เป็นธรรม ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคาหรือผู้เสนอ งานเว้นแต่กรณีที่มีลักษณะเฉพาะอันเป็นข้อยกเว้นตามที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ในการดำเนินการแต่ละขั้นตอน ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบต้องมีการบันทึก หลักฐานในการดำเนินการ พร้อมทั้งระบุเหตุผลในการพิจารณาสั่งการในขั้นตอนที่สำคัญไว้เพื่อประกอบการพิจารณา ”

  6. หลักการกำหนดspecification Spec ที่กำหนดจะต้องเป็น Spec กลาง คือ ไม่กีดกันผู้เสนอราคารายใดรายหนึ่ง ให้สามารถเข้ามาแข่งขันเสนอราคาได้มากราย คือ ไม่ระบุใกล้เคียงหรือเจาะจงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง ตามมติคณะรัฐมนตรี ตามหนังสือสำนักเลขาฯ ที่ สส0403/ว.93 ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2512 และที่ สส 0203/ว.157 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2519 ยกเว้นการก่อสร้างซึ่งระบุยี่ห้อได้

  7. องค์ประกอบของSpecฯ การซื้อจ้าง 2.1 ชื่อรายการพัสดุต้องระบุให้ตรงกับงวดเงิน กรณีเป็นครุภัณฑ์ และรายงานขอซื้อ 2.2 จำนวนพัสดุ 2.3 คุณลักษณะที่ต้องการ เช่น ขนาด 2.4 คุณภาพที่ต้องการเป็นอย่างไร *2.5 การรับประกัน *2.6 ผลิตภัณฑ์ประเทศไทย….(ถ้ามี) หรือ ยุโรป หรืออเมริกา 2.7 มอก เลขที่….(ถ้ามี) รายละเอียด Specฯ ต้องตาม มอก.ที่ต้องการ *2.8 เงื่อนไขการส่งมอบ *2.9 เงื่อนไขการชำระเงิน 2.10 ชื่อผู้กำหนด Specฯ หรือคณะกรรมการ * ระบุเงื่อนไขเพิ่มเติมก็ได้*

  8. นโยบายพัสดุผลิตในประเทศไทยนโยบายพัสดุผลิตในประเทศไทย นโยบายในการสนับสนุนพัสดุที่ผลิตในประเทศไทยและกิจการของคนไทย มีสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) รับผิดชอบกำหนดมาตรฐานของสินค้าและโรงงานที่ผลิตสินค้า ซึ่งได้กำหนดและประกาศรายชื่อทั้ง 3 ลักษณะ ในคู่มือผู้ซื้อ คือ 1. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) 2. มาตรฐาน มอก. - ISO3. การจดทะเบียนรับรองผลิตภัณฑ์

  9. การตรวจสอบ Spec ตามนโยบายพัสดุผลิตในประเทศไทย 1 ส่วนราชการจะต้องกำหนด Specฯ เพื่อจะ ดำเนิน การจัดซื้อ/จ้างทุกวิธี โดยให้มีผู้รับผิดชอบลงนามรับรองด้วย 2 การระบุว่าต้องการสินค้าหรือผลิตจากประเทศใด ต้องระบุ ประเทศไทยด้วย เพื่อจะได้ไม่กีดกันสินค้าไทยตามระเบียบฯ พัสดุ

  10. การตรวจสอบ Spec ตามนโยบายพัสดุผลิตในประเทศไทย 3 Specฯ ที่กำหนดจะต้องเป็น Specฯ กลาง คือ ไม่กีดกันผู้เสนอราคารายใดรายหนึ่ง ให้สามารถเข้ามาแข่งขันเสนอราคาได้มากราย คือ ไม่ระบุใกล้เคียงหรือเจาะจงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง ตามมติคณะรัฐมนตรี ตอบสำนักเลขาฯ ที่ สส0403/ว.93 ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2512 และที่ สส 0203/ว.157 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2519 ยกเว้นการก่อสร้างซึ่งระบุยี่ห้อได้ (ข้อ 16 (1))

  11. การตรวจสอบ Spec ตามนโยบายพัสดุผลิตในประเทศไทย 4 พัสดุที่ สมอ. ระบุมีหมายเลข มอก. ก็ให้ระบุรายละเอียดตามที่ มอก. นั้น ๆ กำหนดไว้ ตามระเบียบข้อ 16 (2) 5 ถ้าไม่มี มอก. แต่มีผู้ได้รับการจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ให้กำหนด Specฯ หรือรายการในการก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับ Specฯ ที่ระบุในคู่มือผู้ซื้อ หรือใบแทรกของกระทรวงอุตสาหกรรม ตามระเบียบข้อ 16 (3) 6 ถ้าจำเป็นที่จะกำหนด Specฯ ไม่ตรงกับ มอก. หรือตามที่มีผู้ที่ได้รับการ จดทะเบียนให้แจ้ง สมอ. ถ้าไม่ทักท้วงก็ดำเนินการซื้อ/จ้างต่อไปได้ ตามระเบียบข้อ 16 (4)

  12. การตรวจสอบ Spec ตามนโยบายพัสดุผลิตในประเทศไทย 7 ถ้าเป็นพัสดุที่ได้รับใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐานและเป็นพัสดุที่มี ผู้ผลิตจากโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพโดยมีผู้ผลิตตั้งแต่สามราย ขึ้นไป ต้องกำหนด Specฯ ให้แสดงเครื่องหมายมาตรฐานและผลิตจาก โรงงานฯ ที่ทำในประเทศเท่านั้น ตามระเบียบฯ พัสดุ ข้อ 16 (5) วรรคหนึ่ง - ในกรณีได้รับใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายและโรงงานที่ได้รับรองระบบ คุณภาพน้อยกว่า 3 ราย แต่ได้รับใบอนุญาติแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน ตั้งแต่ 3 รายขึ้นไป หรือเป็นพัสดุที่มีผู้ผลิตจากโรงงานที่ได้รับการรับรอง ระบบคุณภาพโดยมีผู้ผลิตตั้งแต่ 3 รายขึ้นไป ให้กำหนดสเปคฯ แสดง เครื่องหมายมาตรฐานหรือผลิตจากโรงงานฯ และให้ดำเนินการตามระเบียบ ข้อ(6) คือ

  13. การตรวจสอบ Spec ตามนโยบายพัสดุผลิตในประเทศไทย - ในกรณีเป็นพัสดุทีมีผู้ได้รับใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายฯ ตั้งแต่ 3 ราย ขึ้นไปให้ระบุความต้องการเฉพาะพัสดุซึ่งแสดงเครื่องหมายมาตรฐานที่ทำในประเทศไทยเท่านั้น - ในกรณีเป็นพัสดุทีมีผู้ผลิตจากโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพตั้งแต่ 3 รายขึ้นไปให้ระบุ ความต้องการเฉพาะพัสดุซึ่งผลิตจากโรงงานฯ ที่ทำใน ประเทศไทยเท่านั้น

  14. การตรวจสอบ Spec ตามนโยบายพัสดุผลิตในประเทศไทย 8 ในกรณีได้รับใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายและโรงงานที่ได้รับรองระบบ คุณภาพน้อยกว่า 3 ราย หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง น้อยกว่า 3 รายให้กำหนด Specฯ เฉพาะว่าทำในประเทศไทย ตามระเบียบข้อ16 (7) 9 ในกรณีมีผู้ได้รับการจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ไว้กับกระทรวงอุตสาหกรรม ให้ระบุ Specฯ เฉพาะพัสดุที่ทำในประเทศไทย ตามระเบียบข้อ 16 (8) *โดยสามารถตรวจสอบได้ที่ website- www.tisi.go.th/

  15. การตรวจสอบ Spec ตามนโยบายพัสดุผลิตในประเทศไทย 10 การกำหนด Specฯ ที่เป็นกลาง ควรขอ Specฯ จากผู้ขายหลาย ๆ ราย มาเปรียบเทียบแล้วทำ Specฯ กลางได้ และควรระบุคำว่าไม่น้อยกว่าหรือ มากกว่า หน้าตัวเลขทุกครั้ง เช่น ความจุไม่น้อยกว่า….หรือ มากกว่าหรือดีกว่า 11 การกำหนดสินค้าที่ต้องการคุณภาพดี ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ก็ควร กำหนดว่าสินค้าที่เสนอต้องมีคุณภาพดี หรือเทียบเท่าหรือไม่ต่ำกว่า กับตัว อย่างที่หน่วยงานกำหนด

  16. 12 กรณีเป็นการเช่า หรือจ้างเหมาบริการต่อเนื่องกับผู้รับจ้าง หรือผู้ให้เช่ารายเดิมซึ่งต้องใช้ระเบียบหนังสือเวียนที่ นร(กวพ)1305/ว.8186 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2543 โดยใช้วิธีพิเศษ Repeat Order ตามระเบียบฯ ข้อ 23 (4) , ข้อ 24(5)โดยถือปฎิบัติ ตามระเบียบฯ ข้อ 57(4) หรือ ข้อ 58(2) โดยอนุโลม การกำหนด Specฯ สามารถเปลี่ยนแปลงจากเดิมได้เล็กน้อย เช่น จำนวน เป็นต้น

  17. 13 การอนุมัติยกเว้นให้การเช่าหรือการจ้าง ที่ต้องทำต่อเนื่องไปในปีงบประมาณใหม่แต่ไม่อาจลงนามในสัญญาได้ทัน มีผลย้อนหลัง ต้องดำเนินการจัดหาแต่ไม่สามารถลงนามสัญญาได้ทัน ภายใน 1 ตค. มีผลย้อนหลัง ไปตั้งแต่ 1 ตค. หรือวันที่มีการเช่าหรือการจ้างจริงแล้วแต่กรณี และรู้ตัวผู้ให้เช่าหรือผู้รับจ้างที่จะลงนามเป็นคู่สัญญา และผู้มีอำนาจอนุมัติ ฯ ไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณ 14 กรณีเป็นการซื้อ / จ้าง โดยวิธีพิเศษ ข้อ 23 (4) , ข้อ 24 (5) การกำหนด Specฯ จะต้องเหมือนสัญญาเดิม

  18. สรุป • ห้ามกีดกันสินค้าไทย/กิจการของคนไทย ข้อ ๑๖(๑) • กำหนด Spec. / รายการ ตาม มอก./ หมายเลขมาตรฐาน ข้อ๑๖(๒) • ไม่มีตาม ๒. แต่มีจดทะเบียน กำหนดตามคู่มือผู้ซื้อ/ใบแทรก ข้อ๑๖(๓) • กำหนดแตกต่างจาก ๒.และ๓. แจ้ง สมอ. ข้อ๑๖(๔) • -คู่มือผู้ซื้อ/ใบแทรก ใช้บัญชีถึงเดือนก่อนประกาศ ซื้อ/จ้าง • - การผ่อนปรนการแสดง ระบบ/เครื่องหมาย/จดทะเบียน ข้อ๑๖(๙) • ดำเนินการไม่ได้ตาม ๑๖(๒)(๓)(๕)(๖)(๗)(๘) ซื้อ/จ้าง • ต่อไปได้ หรือไม่รับพิจารณารายนั้น ข้อ๑๖(๑๐) • การเปรียบเทียบราคาฐานเดียวกัน ข้อ๑๖(๑๒) • พิจารณาราคาตามหลักเกณฑ์ทั่วไป นอกจาก ๑๖(๖)(๗)(๘)(๑๑) • กรณีมีผลประโยชน์ร่วมกัน สิทธิตาม 16(5) (6) (7)ให้นับ 1รายข้อ16(13)

  19. การแบ่งซื้อหรือแบ่งจ้าง ตามระเบียบข้อ 22 วรรคสอง 1. การแบ่งซื้อแบ่งจ้างโดยลดวงเงินที่จะซื้อ / จ้าง ในครั้งเดียวเพื่อ ให้วิธีการ การจัดซื้อ / จ้าง , และอำนาจสั่งซื้อ / จ้างเปลี่ยน (ห้ามมิให้กระทำ * ) 2. หลักการควรพิจารณา - มีเจตนา หลีกเลี่ยงวิธีการ / เลี่ยงอำนาจสั่งการ หากมีเจตนา ถือว่าผู้ดำเนินการ ขาดเหตุผลที่แยกซื้อ/จ้างเป็นหลายครั้ง - วงเงินงบประมาณได้รับมาพร้อมกันหรือไม่ - เป็นชุดหรือไม่ - ใช้วงเงินกำหนดวิธีการ / วงเงินตาม พรบ -ความพร้อมของสถานที่ - ประเภทเดียวกันหรือไม่ - ผู้ใช้ต้องการใช้พร้อมกันหรือไม่

  20. ข้อควรพิจารณา การจัดหาพัสดุโดยใช้งบดำเนินงาน • การซื้อพัสดุที่มีอายุใช้งานคงทนถาวรเกิน 1 ปี/ราคาต่อหน่วย/ต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท • การลงบัญชีให้ลงเป็นรายการครุภัณฑ์มูลค่าต่ำกว่าเกณฑ์เป็นการควบคุมทางบัญชีโดยไม่คิดค่าเสื่อม เช่น ตู้ โต๊ะ เก้าอี้ กล้องถ่ายรูป เครื่องปริ้นเตอร์ฯ • การซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วย/ต่อชุด • ไม่เกิน 20,000 บาท

  21. ข้อควรพิจารณา • - รายจ่ายเพื่อการประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุง • ครุภัณฑ์ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท • -รายจ่ายเพื่อการประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุง • ที่ดิน และหรือสิ่งก่อสร้าง ที่มีวงเงินไม่เกิน 50,000 บาท • รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ • แต่ไม่รวมถึงค่าจัดหาเครื่องยนต์ใหม่เพื่อใช้ในการซ่อมแซมรถยนต์

  22. ขั้นตอนการซื้อและการจ้างทุกวิธีขั้นตอนการซื้อและการจ้างทุกวิธี เจ้าหน้าที่พัสดุ • ทำรายงานขอซื้อ/จ้างพัสดุทั่วไป (๒๗) • ที่ดิน (๒๘) • ให้ความเห็นชอบ (๒๙) • แต่งตั้งคณะกรรมการ (๓๔) หัวหน้าส่วนราชการ • ตกลงราคา (๑๙, ๓๙) • สอบราคา (๒๐, ๔๐-๔๓) • ประกวดราคา (๒๑, ๔๔-๔๖) • วิธีพิเศษ (๒๓, ๕๗) , (๒๔-๕๘) • กรณีพิเศษ (๒๖, ๕๙) ดำเนินการ ขออนุมัติซื้อ/จ้าง (๖๕-๖๗) ทำสัญญา (๑๓๒-๑๓๕) เปลี่ยนแปลงรายการ (๑๓๖) การซื้อการจ้างทั่วไป (๗๑) การจ้างก่อสร้าง (๗๒-๗๓) ตรวจรับ งด/ลดค่าปรับ ขยายเวลา (๑๓๙) บอกเลิก (๑๓๗-๑๓๘) เบิกจ่าย

  23. วิธีซื้อ - จ้าง (6 วิธี)

  24. 1. กรณีใช้วงเงินกำหนดวิธีการ - วิธีตกลงราคา ครั้งหนึ่งไม่เกิน 100,000 บาท - วิธีสอบราคา ” เกินกว่า 100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท - วิธีประกวดราคา ” เกินกว่า 2,000,000 บาท ขึ้นไป

  25. 2. กรณีใช้วงเงินและเงื่อนไขกำหนดวิธีการ 2.1 ซื้อโดยวิธีพิเศษ - เกินกว่า 100,000 บาท - เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามข้อ 23 2.2 จ้างโดยวิธีพิเศษ - เกินกว่า 100,000 บาท - เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามข้อ 24

  26. 3. กรณีใช้เงื่อนไขกำหนดวิธีการ การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ - เป็นผู้ผลิตหรือทำงานนั้นเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติให้ซื้อและจ้าง - กฎหมายหรือมติ ครม. (สิทธิพิเศษ)

  27. 4. การซื้อและการจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์ - ใช้สำหรับการซื้อหรือการจ้างแต่ละครั้งที่มีมูลค่าตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไป

  28. การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคาการดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา (ข้อ ๒๗, ๒๙, ๓๙) รายงาน (๒๗) เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ให้ความเห็นชอบ (๒๙) ติดต่อตกลงราคา เสนอสั่งซื้อ/จ้าง ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ สั่งซื้อ/จ้าง (๓๙) ข้อยกเว้น :กรณีจำเป็นเร่งด่วน - ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน - ดำเนินการตามปกติไม่ทัน - เจ้าหน้าที่พัสดุ/ผู้รับผิดชอบดำเนินการไปก่อน - รายงานขอความเห็นชอบหัวหน้าส่วนราชการ - ใช้รายงานเป็นหลักฐานการตรวจรับ - วงเงินไม่เกิน 10,000 บาทและเร่งด่วน ข้อ 23(2) 24(3) ทำรายงานเฉพาะรายการที่จำเป็นได้ วิธีการ :

  29. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการซื้อ - จ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้สั่งซื้อ - จ้างหัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวงรัฐมนตรี คณะกรรมการต่าง ๆ ผู้ควบคุมงาน

  30. คณะกรรมการในการซื้อ - การจ้าง • คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา • คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ

  31. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ • คณะกรรมการตรวจการจ้าง • (ผู้ควบคุมงาน) • คณะกรรมการกำหนดราคากลาง • คณะกรรมการกำหนดร่างขอบเขตของงาน (TOR) และร่างเอกสารประกวดราคา • คณะกรรมการประกวดราคา

  32. การแต่งตั้งคณะกรรมการการแต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้แต่งตั้ง หัวหน้าส่วนราชการ กรรมการตามข้อ ๓๔ แต่ละคณะประกอบด้วย - ประธานกรรมการ ๑ คน - กรรมการอื่นอย่างน้อย ๒ คน - แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือ พนักงานของรัฐ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ - กรณีจำเป็น/เพื่อประโยชน์ของทางราชการ จะแต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกิน ๒ คน ร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้ ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ ฉบับที่ ๗ พ.ศ.๒๕๕๒

  33. การแต่งตั้งคณะกรรมการการแต่งตั้งคณะกรรมการ เงื่อนไข - ต้องตั้งเป็นครั้ง ๆ ไป (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ) หลักการ - ไม่ตั้งกรรมการซ้ำกัน ข้อควรระวัง - กรรมการรับและเปิดซอง ห้ามเป็น กรรมการพิจารณาผลฯ - กรรมการเปิดซองฯ, กรรมการพิจารณาผลฯ ห้ามเป็น กรรมการตรวจรับ - ต้องกำหนดระยะเวลาในการพิจารณา -ต้องมีผู้ชำนาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับพัสดุ/งานจ้างนั้น ๆ เข้าร่วมเป็นกรรมการด้วยทุกคณะ ยกเว้นคณะกรรมการรับและ เปิดซองฯ

  34. การประชุมคณะกรรมการ องค์ประชุม :ประธานและกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง : ประธานและกรรมการมีเสียงหนึ่งในการลงมติมติกรรมการ: ถือเสียงข้างมากถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียงเพิ่มชี้ขาด: คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือคณะกรรมการตรวจการจ้างใช้มติเอกฉันท์ (กรรมการที่ไม่เห็นด้วยให้บันทึกความเห็นแย้งไว้)

  35. หนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค (กวพ) ๐๔๐๘.๔/ ว๑๕๕ ลงวันที่ ๙ พค.๒๕๕๐ • อนุมัติยกเว้นเป็นหลักการไว้ดังนี้ • แต่งตั้งพนักงานราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งไม่ใช่ผู้จัดซื้อเป็นผู้ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง วงเงินไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท • ตามระเบียบข้อ ๓๕ วรรค ๕ • แต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัย เป็นกรรมการตามข้อ ๓๔ ได้ตามความจำเป็นและเหมาะสม

  36. การอนุมัติผ่อนผันเกี่ยวกับคณะกรรมการต่าง ๆ ๑. หนังสือเวียน กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓ (กวพ)/ว ๓๔๑ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๓ การอนุมัติผ่อนผันระเบียบฯ ข้อ ๓๕ วรรคท้าย (ผู้ตรวจรับพัสดุวงเงินไม่เกิน ๑ หมื่นบาท) และข้อ ๓๗ (ผู้ควบคุมงาน) ให้แต่งตั้งพนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ เป็นผู้ตรวจรับพัสดุ หรือตรวจการจ้าง/หรือผู้ควบคุมงานได้

  37. ๒. หนังสือเวียน กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓ (กวพ)/ว ๔๑๗ ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๓ การอนุมัติผ่อนผันให้“ลูกจ้างประจำ” เป็นคณะกรรมการ ตามระเบียบฯ พัสดุ ข้อ ๓๒ ,๓๕, ๘๐, ๙๘, ๑๐๑ และ ๑๑๖ ได้ โดยให้คำนึงถึงความรู้ ความสามารถ ลักษณะงาน หน้าที่และความรับผิดชอบ ของผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ

  38. ๓. หนังสือเวียน กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓ (กวพ)/๓๒๒๔๙ ลงวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ การอนุมัติยกเว้นให้แต่งตั้ง “พนักงานมหาวิทยาลัย” เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุตามระเบียบฯพัสดุ ได้ • โดยให้มหาวิทยาลัยดำเนินการตาม พรบ. • ระเบียบข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา • พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๑๘ ก่อน

  39. หน้าที่กรรมการตรวจรับพัสดุหน้าที่กรรมการตรวจรับพัสดุ • ตรวจ ณ สถานที่ตามสัญญา / ที่ทำการของผู้ใช้พัสดุ • ตรวจความถูกต้องครบถ้วนตามหลักฐานที่ตกลงไว้ / จำเป็นใช้สถิติได้ • ให้เริ่มตรวจวันที่ผู้ขายส่งมอบ / ตรวจให้เสร็จโดยเร็วที่สุดไม่เกิน ๕ วันทำการ • และไม่รวมเวลาตรวจทดลอง • ๔. - ตรวจถูกต้องแล้ว ถือว่าส่งมอบถูกต้องวันส่ง • - ตรวจถูกต้องแล้ว มอบพัสดุให้เจ้าหน้าที่พร้อมใบตรวจรับ ๒ ฉบับ • ผู้ขาย ๑ เจ้าหน้าที่พัสดุ ๑ • - ตรวจแล้วไม่ถูกต้องให้รายงานหนส.. • ผ่านหนจ..พัสดุเพื่อทราบหรือสั่งการแล้วแต่กรณี

  40. ๕. กรณีตรวจถูกต้อง แต่ไม่ครบจำนวน/ไม่ถูกต้องทั้งหมด - รับเฉพาะจำนวนที่ถูกต้อง - รายงานรายการที่ไม่ถูกต้อง และปฏิบัติตาม ๔ - รีบรายงานผู้ซื้อเพื่อแจ้งผู้ขาย ภายใน๓วันทำการ พร้อมสงวนสิทธิการปรับ (กรณีเกินกำหนดสัญญา) มติกรรมการ - เอกฉันท์(คือมติตามองค์ประชุม) ผู้ไม่เห็นด้วยให้ทำความเห็นแย้ง เสนอผู้สั่งการ เช่นกรรมการ ๕ คนไปตรวจรับ ๓ คนต้องเซ็น ๓ คน ๖. ตรวจรับของเป็นชุดหรือหน่วย ขาด/ใช้การได้ไม่สมบูรณ์/ถือว่ายังไม่ส่งมอบ รายงานหนส.เพื่อแจ้งผู้ขายภายใน ๓ วันทำการ ๗. ตรวจแล้วความเห็นไม่ตรงกัน เสนอหนส.พิจารณาสั่งการ - ถ้าให้รับปฏิบัติตาม ๔

  41. หน้าที่คณะกรรมการตรวจการจ้างหน้าที่คณะกรรมการตรวจการจ้าง • ตรวจสอบรายงานของผู้ควบคุมงาน กับแบบรูป/รายการละเอียด • ข้อตกลงในสัญญาทุกสัปดาห์ • รับทราบ/พิจารณาการสั่งหยุดงาน/พนักงาน แล้วรายงานหัวหน้า • ส่วนราชการสั่งการ • กรณีมีข้อสงสัย/เห็นว่าเป็นไปไม่ได้ ให้ออกตรวจ ณ สถานที่ที่ • กำหนด สั่งเปลี่ยนแปลง/แก้ไขเพิ่มเติม/ตัดทอนงานให้เป็นไป • ตามแบบรูป/รายการ/ข้อตกลง • ตรวจผลงานที่ส่งมอบภายใน ๓ วันทำการในแต่ละงวด ยกเว้นงวดสุดท้าย • ภายใน๕วันทำการ/ตรวจให้เสร็จโดยเร็วที่สุด

  42. หน้าที่คณะกรรมการตรวจการจ้าง (๒) ๕. กรณีตรวจถูกต้อง • ทำใบรับรองผลงานทั้งหมด/เฉพาะงวด ๒ ฉบับ • มอบผู้รับจ้าง ๑ มอบเจ้าหน้าที่พัสดุ ๑ • รายงานผู้ว่าจ้าง ๖. กรณีตรวจแล้วไม่ถูกต้อง • ให้รายงานผู้ว่าจ้างผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ สั่งการ มติกรรมการ - เอกฉันท์ (มติตามองค์ประชุม) ผู้ไม่เห็นด้วยทำความเห็นแย้ง เสนอ ผู้ว่าจ้างสั่งการ - ถ้าให้รับงาน ปฏิบัติตาม ๕ เช่นกรรมการ5คนไปตรวจรับ 3คน ต้องเซ็น3คน

  43. หน้าที่ผู้ควบคุมงาน • ตรวจตามแบบรูป/รายการละเอียด/ข้อตกลงในสัญญา • สั่งเปลี่ยนแปลง/แก้ไขเพิ่มเติม/ตัดทอน เฉพาะกรณีเพื่อให้เป็นไปตาม ๑ • ถ้า ๑ ขัด กันหรือคาดหมายว่า จะไม่มั่นคงแข็งแรง • - สั่งหยุดงานแล้วรายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างโดยเร็ว • จดบันทึกการปฏิบัติงานและเหตุการณ์แวดล้อมเป็นรายวัน พร้อมผลการ • ปฏิบัติงาน รานงานคณะกรรมการฯทุกสัปดาห์ -ถือเป็นเอกสารสำคัญ • ดูสถานที่ก่อสร้าง • - วันเริ่มลงมือทำการ • - วันส่งมอบแต่ละงวด รายงานคณะกรรมการฯ ภายใน ๓ วันทำการ

  44. ผู้ควบคุมงาน • มีความรู้ความชำนาญด้านช่างตามลักษณะของงานก่อสร้าง • มีคุณวุฒิตามที่ผู้ออกแบบเสนอ ปกติไม่ต่ำกว่า ปวช. • เป็นข้าราชการหรือลูกจ้างประจำ ในสังกัด กรณีสังกัดอื่น ต้องได้รับความ • ยินยอมจากต้นสังกัด • หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้ง • แต่งตั้งเฉพาะด้านหรือเป็นกลุ่มบุคคล • จ้างที่ปรึกษาหรือเอกชน - ปฏิบัติตามส่วนที่ ๓ หรือส่วนที่ ๔

  45. การปรับ อัตราและเงื่อนไขซื้อ/จ้าง ไม่ต้องการผลสำเร็จพร้อมกัน = ร้อยละ 0.01– 0.2 ของราคาพัสดุยังไม่ได้รับมอบ จ้างต้องการผลสำเร็จพร้อมกัน = เงินตายตัวในอัตราร้อยละ 0.01 – 0.1 ( 100 บาท) จ้างก่อสร้างที่มีผลกระทบต่อการจราจรในอัตราร้อยละ ๐.๒๕ ผู้มีอำนาจกำหนด : หัวหน้าส่วนราชการ

  46. วิธีการปรับแจ้งการปรับเมื่อครบกำหนด สงวนสิทธิปรับเมื่อส่งมอบนับถัดจากวันครบกำหนดถึงวันส่งมอบอัตราตามสัญญา ข้อตกลงของเป็นชุดปรับทั้งชุดของติดตั้งทดลองปรับตามราคาของทั้งหมดข้อยกเว้นไม่ปรับข้อ 139 (การงด ลดค่าปรับ ขยายเวลา)

  47. การรับมอบและการปรับ กำหนดส่ง 15 ก.พ.1. ส่ง 12 ก.พ. แจ้งแก้ไข 18 ก.พ.2. ส่ง 2 รับ 2 22 ก.พ. 25 ก.พ. ปรับ 16-22 กพ.=7 วัน ลดปรับ (13-18 กพ.=6 วัน) สรุปปรับเพียง 7 – 6 = 1 วัน

  48. ข้อ 71 (4) “ถือว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างได้ส่งถูกต้อง ตั้งแต่วันที่ได้นำพัสดุมาส่ง” . . . . . ปรับ ? วัน - สัญญาครบ 15 กพ.- ส่งถูกต้อง 22 ก.พ. (ครั้งที่ 2) “ตามสัญญาจะต้องถูกปรับ 16 ก.พ. - 22 ก.พ. = 7 วัน”- ผู้ขายส่งมอบครั้งที่ 1 วันที่ 13 กพ. ไม่เรียบร้อยตามสัญญา - กรรมการแจ้งแก้ไข 18 กพ. **กรรมการล่าช้า (เป็นเหตุพิจารณาลดค่าปรับตามระเบียบฯ ข้อ 139) 13 ก.พ. - 18 ก.พ. =6 วันสรุปค่าปรับเพียง 7 - 6= 1 วันข้อควรระวัง กรรมการต้องรีบแจ้งแก้ไขกรณีส่งมอบของไม่เป็นไปตามสัญญา เพราะเป็นเหตุต้องลดค่าปรับ

  49. รูปแบบของสัญญา 1. เต็มรูป 1.1 ตัวอย่างสัญญาที่ กวพ. กำหนด 1.2 มีข้อความแตกต่าง เสียเปรียบ/ไม่รัดกุม ส่งสำนักงานอัยการสูงสุด 1.3 ร่างใหม่

  50. 2. ลดรูป = ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสั่งซื้อ/จ้าง) 2.1 ตกลงราคา 2.2 ส่งของ 5 วันทำการ 2.3 กรณีพิเศษ 2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ (บางกรณี)3. ไม่มีรูป 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท 3.2 ตกลงราคาฉุกเฉิน

More Related