830 likes | 1.12k Views
ฝ่ายวางแผนและประเมินผล ร่วมกับ ฝ่ายฝึกอบรม 1 ส่วนฝึกอบรม สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล กรมชลประทาน. To be…. Professional Trainer. นิพัทธ์ กานตอัมพร สถาบันเมธาฟอรั่ม( Meta Forum) Tel:081-8568523 E-mail:nipat.kan@gmail.com.
E N D
ฝ่ายวางแผนและประเมินผลร่วมกับฝ่ายฝึกอบรม 1 ส่วนฝึกอบรม สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล กรมชลประทาน To be… Professional Trainer. นิพัทธ์ กานตอัมพร สถาบันเมธาฟอรั่ม(Meta Forum) Tel:081-8568523 E-mail:nipat.kan@gmail.com
วิทยากร....เริ่มต้นที่การพัฒนาทักษะ (Skills) และไม่เพียงแค่เรียนรู้ ฝึกฝนจากการฝึกอบรม แต่ต้องเป็นการสร้างการเรียนรู้ที่ไม่สิ้นสุด ที่ใช้พลังสมอง พลังจิต.....พัฒนาตนเองสู่มืออาชีพ
Module 1ศิลปะการพูดและการนำเสนอขั้นพื้นฐาน(Public speaking & Presentation technique)-หลักการพูดในที่ชุมชน กับ หลักสามสบาย-เทคนิคการนำเสนอที่มีประสิทธิภาพด้วยหลักสามใจ- การพูดในโอกาสพิเศษ
คำพูดที่ดีเป็นสิ่งมีค่าไม่ต้องใช้เงินตรามาลงทุนคำพูดที่ดีเป็นสิ่งมีค่าไม่ต้องใช้เงินตรามาลงทุน
คุณลักษณะของนักพูด • บุคลิกภาพ • มีความรอบรู้ • ไหวพริบปฏิภาณ • ร่าเริงสนุกสนาน • น้ำเสียงไพเราะ
สิ่งเกี่ยวข้องเมื่อต้องพูดสิ่งเกี่ยวข้องเมื่อต้องพูด • การแต่งกาย • อิริยาบถ • สายตา • น้ำเสียง • ภาษา • ไมโครโฟน
1. การแต่งกายยึดหลัก 5 ส • สุภาพ • สะอาด • สวมสบาย • สอดคล้องสถานการณ์ • เสริมบุคลิกภาพ
2.การปรากฎกาย • สง่างาม • จุดที่เหมาะสม • ยิ้มแย้มแจ่มใส • มีวัฒนธรรม
3. อิริยาบถ(ภาษากาย สายตา ภาษามือ) • เป็นกันเอง • เป็นธรรมชาติ • สอดคล้องกับเนื้อหา • สร้างเสริมความเข้าใจ
การเริ่มต้นที่ดี • ทักทายที่ประชุม • แนะนำตัว • เกริ่นปูบรรยากาศหรือเปิดฉาก
ลำดับขั้นตอนการพูด เชื่อมโยงประเด็นชวนติดตาม ตัวอย่างประกอบ/เปรียบเทียบเสริมสร้างความเข้าใจ สลับด้วยอารมณ์ขัน สร้างความสนุกสนาน การดำเนินเรื่อง
หลัก 3 สบาย 1. ฟังสบายหู 2. ดูสบายตา 3. พาสบายใจ ศ.ดร. จิตรจำนงค์ สุภาพ) (The theory of three pleasant speech,
ฟังสบายหู • ภาษาพูด น้ำเสียง จังหวะ • ระดับเสียงกับเนื้อหา
ฟังสบายหู • เริ่มต้นด้วย ทักทายผู้ฟัง • น้ำเสียงเป็นธรรมชาติน่าฟัง เหมาะสมกับเรื่องราว • จังหวะการพูด เว้นวรรคตอนดี • ถูกต้องตามอักขระวิธี ทั้ง ร. ล. คำควบกล้ำ คำสรรพนาม • หลีกเลี่ยงการใช้คำซ้ำ คำฟุ่มเฟือย • ใช้ภาษาเหมาะสมกับกลุ่มผู้ฟัง
2.ดูสบายตา การปรากฏกาย จุดที่ยืน ภาษากาย ลีลา สายตา มือ
ดูสบายตา • การแต่งกาย เครื่องประดับ ยึดหลักสุภาพ ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องราว สถานที่ ฯ • บุคลิกภาพการแสดงออก ยืน เดิน กิริยาท่าทาง เคลื่อนที่อย่างมีจุดหมาย • ลีลาการพูด การใช้ภาษากายทำได้เหมาะสม เช่นการใช้สายตา ใช้มือประกอบการพูดได้สอดคล้อง • การใช้อุปกรณ์หรือสื่อประกอบการพูด ทำได้คล่องแคล่ว ไม่ขลุกขลักเช่น ไมโครโฟน คอมพิวเตอร์
3.พาสบายใจ คุณค่าของเนื้อหาสาระ ลำดับหัวข้อที่ชัดเจน ตัวอย่างเสริมสร้างความเข้าใจ
พาสบายใจ • ผู้ฟังได้เนื้อหาสาระครบถ้วน มีการเตรียมโครงเรื่อง จัดทำแผนไว้ล่วงหน้า ประกอบด้วย -ส่วนนำ แนบเนียนตื่นตา ปูเรื่องราว -ส่วนเนื้อหา เป็นขั้นตอน น่าสนใจชวนติดตาม -ส่วนสรุป ประทับใจ ได้ข้อคิด • มีเกร็ดความรู้ มีตัวอย่างประกอบเพื่อสร้างความเข้าใจและทำให้จดจำ
ส่วนนำ 10 % • ส่วนเนื้อหา 75 % • ส่วนสรุป 15 % โครงของการพูด
การเตรียมการพูด • วิเคราะห์ผู้ฟัง • เลือกเรื่อง • เขียนโครงเรื่อง • หาข้อมูลเสริม • ซักซ้อม
ความสำเร็จของการพูด • เนื้อหา 50 % • บุคลิกภาพ 10 % • จิตวิทยาการพูด 20 % • ศิลปะการแสดง 20 %
ขั้นตอนของการพูด • ปฏิสันถาร • เปิดฉากนำ/เกริ่นปูบรรยากาศ • เข้าเนื้อหา • สรุปจบ • อำลา
คำถาม คำคม คำชม คำอ้างอิง ความระทึก ความฉงน ความขบขัน เพลงดนตรี เทคนิคการเปิดฉาก
การจบอย่างประทับใจ • สรุปความอย่างกระชับ • เชิญชวน/ฝากแนวคิด • อำลา
การพูดกับชีวิตและการงานการพูดกับชีวิตและการงาน 1 งานแต่งงาน 2 งานเปิดอบรม/สัมมนา 3 งานเลี้ยงรับ/ส่ง 4 งานรับรางวัลข้าราชการดีเด่น 5 การต้อนรับ/ขอบคุณ การมาเยี่ยมชม/ดูงาน 6 การเป็นพิธีกร/ผู้ดำเนินรายการ 7 การดำเนินการอภิปราย/เสวนา
หลักคิดของการพูดในโอกาสพิเศษหลักคิดของการพูดในโอกาสพิเศษ • วิเคราะห์สถานการณ์/โอกาส • ทบทวนตนเองว่าพูดในฐานะ/บทบาทอะไรในงาน • คิด/วางโครงเรื่อง ตามหลักการ • ซักซ้อมในใจก่อนขึ้นเวที • ตอกย้ำความมั่นใจว่า.. OK!
การพูดในงานเลี้ยงฉลองสมรสการพูดในงานเลี้ยงฉลองสมรส • กล่าวถึงความยินดีและเป็นเกียรติที่มาร่วมงาน • กล่าวถึงความสัมพันธ์กับเจ้าภาพ/บ่าว-สาว • กล่าวชื่นชมและความเหมาะสม • ให้โอวาท • อำนวยพร (และเชิญดื่ม)
การพูดในการเปิดสัมมนา/อบรมการพูดในการเปิดสัมมนา/อบรม • กล่าวถึงความยินดีและเป็นเกียรติ • ชื่นชม ผู้จัด/ผู้ร่วมงานว่าจะส่งผลดีต่อ..... • ให้โอวาท/คำแนะนำ • อำนวยพรให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ • กล่าวเปิดการสัมมนา
การกล่าวต้อนรับการมาเยี่ยมชม/ดูงานการกล่าวต้อนรับการมาเยี่ยมชม/ดูงาน • กล่าวถึงความยินดีต้อนรับที่....มาเยี่ยมชม • กล่าวสรุปถึงหน่วยงานพอสังเขป/เหมาะสม • เปิดให้ซักถาม • เชิญเข้าชมหน่วยงานและนำชม.... • ส่งกลับ/รับมอบของที่ระลึก/ถ่ายภาพ
การกล่าวแสดงความรู้สึกในการรับรางวัลการกล่าวแสดงความรู้สึกในการรับรางวัล • กล่าวถึงความยินดีและเป็นเกียรติที่ได้รับรางวัล • ขอบคุณคณะกรรมการ/ผู้บังคับบัญชา/เพื่อน • ยืนยันการรักษาเกียรติยศของรางวัล • ปวารณาตัวถึงความพร้อมร่วมมือ/แนะนำ • ขอบคุณ
การพูดในงานเลี้ยงรับ • กล่าวถึงความยินดีต้อนรับที่...ย้ายมาร่วมงาน • กล่าวชื่นชมและความเหมาะสม • ย้ำเป้าหมายและความร่วมมือของทุกคน • อำนวยพรให้มีความสุขในการมาร่วมงาน • มอบช่อดอกไม้
การพูดในงานเลี้ยงส่ง • กล่าวถึงความรู้สึกเป็นเกียรติที่มาร่วมงาน • กล่าวชื่นชมผลงานและความสามารถเด่นๆ • กล่าวถึงความรัก/ความอาลัย • อำนวยพรให้มีความสุขและความสำเร็จ • ยืนยันความสัมพันธ์ที่เหมือนเดิม • มอบช่อดอกไม้
หลักการเป็นพิธีกร • พิธีกร ทำเรื่องที่เป็นพิธีการ • พิธีกรไม่ใช่พระเอกของงาน แต่ทำให้ภาพรวมของงานดูดี • เป็นผู้สร้างและเชื่อมต่อบรรยากาศให้ต่อเนื่อง/ราบรื่น • รักษาธรรมเนียม/ประเพณี/ขั้นตอนที่เหมาะสม • ต้องดูสง่างามและน่าเชื่อถือ/แม่นยำ/มืออาชีพ • ต้องรู้บทบาท รู้เวลา รู้สถานการณ์ • สามารถให้คำแนะนำที่เหมาะสมแก่เจ้าภาพ
การเตรียมการเป็นพิธีกรการเตรียมการเป็นพิธีกร • ศึกษาข้อมูลของงานว่า งานอะไร/ใครเป็นผู้จัด/วัตถุประสงค์/ผู้มาร่วมงาน/วัน-เวลา-สถานที่/ประธาน-บุคคลสำคัญในงาน • เรารับผิดชอบในส่วนใด/เวลาใดของงาน • ศึกษาพิธีการ/ขั้นตอนที่กำหนดไว้ • ทบทวน/แนะนำ(ถ้าเหมาะสม) • เตรียมสคริปต์และซักซ้อม • พักผ่อนให้เต็มที่
การขึ้นเป็นพิธีกร • ขึ้นเวทีอย่างสง่างามและมีความมั่นใจ • พูดอย่างสุภาพและมีข้อมูลแจ้งให้ทราบ • สร้างมิตรภาพและบรรยากาศที่เหมาะสมกับงาน • นำเข้าสู่พิธีการอย่างแนบเนียน/น่าสนใจ • สร้างจุดเด่นให้กับงาน(บ่าว-สาว/ผู้รับรางวัล) • ดำเนินการต่อเนื่อง/ราบรื่น/เชื่อมต่อบรรยากาศ • ปิดบทบาทอย่างดี/มีเทคนิค
รายงานการศึกษาดูงาน • ทักทาย / เกริ่นนำ • กล่าวถึงวันเวลาสถานที่ที่ไปดูงาน • ชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมายการศึกษาดูงาน • ลำดับข้อมูลสำคัญของผลการศึกษาดูงาน • เสนอแนวคิดสร้างประโยชน์พร้อมประโยคสรุปจบ
รายงานตัวในที่ประชุม( กรณีรับตำแหน่งใหม่ ) • ทักทาย • แนะนำชื่อ – สกุล • การศึกษา • ประสบการณ์ อดีต – ปัจจุบัน • ครอบครัว • เสนอตนเพื่อช่วยงาน • เน้นย้ำชื่อ-สกุลอีกครั้ง
TIPS • สื่อกับสีสัน • มีสื่อ กับ ไม่มีสื่อ • ข้อความในสื่อ • จังหวะการใช้สื่อ
อักษรหนังสือ • ภาพ • สิ่งของ สื่อประกอบ
สัจธรรมของการพูด • พูดแล้วมีคนฟัง นั้นยาก • พูดแล้วมีคนเข้าใจ นั้นยากกว่า • พูดแล้วมีคนเชื่อตาม นั้นยากที่สุด
Module 2.หลักและเทคนิคสำหรับวิทยากร - หลักการเรียนรู้แบบวิทยากรเป็นศูนย์กลาง - หลักการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง - เทคนิคที่สำคัญของวิทยากร
วิทยากร (Resource Person) • ผู้บรรยาย (Lecturer) • ผู้สอน (Teacher) • พี่เลี้ยง (Mentor) • ผู้ฝึก (Trainer) • ผู้สร้างการเรียนรู้ (Instructor) (ดร.สุวิทย์ มูลคำ)
สิ่งที่ Trainers ต้องมี... • ทัศนคติที่ดีต่อการเป็น Trainer • วินัย คุณธรรม จริยธรรม • บุคลิก และพฤติกรรมที่เป็นต้นแบบได้ • ความรู้ความเข้าใจในศาสตร์ สาขา งานที่จะสอนเป็นอย่างดี • เทคนิคและทักษะการสื่อสาร • จิตวิทยาและศิลปะการพูดเพื่อการถ่ายทอด • ความเป็นนักคิด (Thinker)
การเรียนรู้มี 2 ประเภท • Surface Learning • เรียนรู้แบบผิวเผิน เกิดความรู้ ความเข้าใจแบบพื้นฐาน • Deep Learning • เรียนรู้แบบลึกซึ้ง เกิดการเรียนรู้ แล้วมีความสามารถในการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์อื่นๆได้ (Marton and Saljo, 1976)
วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ • ความรู้ (Knowledge) • ความเข้าใจ(Understanding) • ทักษะ (Skills) • ทัศนคติ (Attitude) KUSA
การคัดเลือกเนื้อหา เนื้อหาสำคัญที่ “ ต้องรู้ ” (Must Know) เนื้อหารองที่ “ ควรรู้ ” (Ought to Know) เนื้อหาประกอบที่ “ น่าจะรู้ ” (Should Know)
การสอนผู้ใหญ่ (Adult Teaching) คือ การใช้เทคนิควิธีการต่างๆ ให้ผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่เกิดการเรียนรู้ และบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการสอนนั้นๆ
วิธีการสอนมีหลายวิธี อาทิเช่น • การบรรยาย (Lecture) • กรณีศึกษา (Case Study) • การสาธิต (Demonstration) • การแสดงบทบาท (Role Play) • สถานการณ์จำลอง (Simulation) • เกม (Game)ฯลฯ
การอบรมที่วิทยากรเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้การอบรมที่วิทยากรเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ การบรรยาย (Lecture)
การบรรยาย (Lecture) • วัตถุประสงค์ Uบอกเล่าหรืออธิบายเนื้อหาในเวลาจำกัด • วิธีการ • บอกเล่าหรืออธิบายตามขั้นตอนเนื้อหา ที่ได้เตรียมไว้ ง่ายและสะดวกกับคน หลายๆกลุ่ม หลายๆขนาด • การประเมินความสำเร็จ Uแบบประเมิน, ถาม-ตอบ, สังเกตุ