410 likes | 757 Views
มาตราการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก. วลีรัตน์ พูลผล (วทม.ปรสิตวิทยา) กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สคร. 7 อบ. เชื้อ. ยุง. คน. 1. ยุง ( Mosquitoes ) ป.ไทยพบ 19 สกุล 412 ชนิด แบ่ง 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ - ยุงที่เป็นพาหะนำโรค
E N D
มาตราการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกมาตราการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก วลีรัตน์ พูลผล (วทม.ปรสิตวิทยา) กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สคร. 7 อบ. เชื้อ ยุง คน 1
ยุง (Mosquitoes)ป.ไทยพบ 19 สกุล 412 ชนิด แบ่ง 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ - ยุงที่เป็นพาหะนำโรค - ยุงที่ไม่เป็นพาหะนำโรค
โรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นได้อย่างไรโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นได้อย่างไร เชื้อไวรัสจะเข้าไปเจริญในยุง แล้วไปอยู่ในต่อมน้ำลาย ยุงลาย (Ae. aegypti, Ae. albopictus) กินเลือดผู้ป่วย ยุงลายกินเลือดคน ครั้งใหม่ จะปล่อยเชื้อ ยุง คน เชื้อไวรัสเข้าสู่คน เชื้อไวรัสเดงกี จะอยู่ในกระแสเลือดขณะมีไข้ อาจเป็นเชื้อ DEN-1 หรือ DEN-2 หรือ DEN-3 หรือ DEN-4 แล้วเพิ่มจำนวนในเซล ป่วย สำนักงานควบคุมโรคไข้เลือดออก 1
ไวรัสในกระแสโลหิต การแพร่เชื้อ Dengue virus ยุงมีเชื้อตลอด 1- 2 เดือน ระยะฟักตัวในยุง 8 -12 วัน กัดเด็กหรือผู้ใหญ่ คนไข้ ขณะมีไข้สูง ระยะฟักตัวในคน 5 - 8 วัน (3-15 วัน) ที่มา : โรคไข้เลือดออก ฉบับประเกียรณก สำนักงานควบคุมโรคไข้เลือดออก ก.สธ หน้า 8
ความแม่นยำในการตรวจเพื่อช่วยวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกเบื้องต้นความแม่นยำในการตรวจเพื่อช่วยวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกเบื้องต้น อาจมีผลการตรวจทูนิเกต์ เป็นลบได้ (false negative) ในกรณีที่ กำลังอยู่ในภาวะช็อก ผู้ป่วยอ้วน ผู้ป่วยผอม เมื่อเทคนิคการทำไม่ถูกต้อง (แถบรัดความดันไม่ได้กดบริเวณเส้นโลหิตฝอย) ที่มา : แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคไข้เลือดออกเดงกี่ กระทรวงสาธารณสุข : หน้า 34 ประวัติการเจ็บป่วย รายละเอียดในการรับการรักษาและผลการรักษา ที่ไหน เมื่อไร กี่ครั้งลงทุกครั้ง
มาตรการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกมาตรการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก สร้างระบบเฝ้าระวังโรคให้เข้มแข็งในพื้นที่ - เตรียมคน อุปกรณ์ (สารเคมี, เครื่องพ่น) - การค้นหาและรักษาผู้ป่วยอย่างฉับไว - ระบบรายงาน/สอบสวน/ควบคุมโรค ที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ - เร่งรัดในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 2. สร้างระบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน 2.1 การสนับสนุนการป้องกันโรคไข้เลือดออกผ่านกระบวนการจัดการพาหะนำโรคแบบบูรณาการ (IVM- Integrate vector management) 2.2.การใช้ประชาคม เพื่อสร้างความเข้มแข็งการป้องกันโรค /บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจังต่อเนื่อง - รณรงค์กำจัดภาชนะที่มีศักยภาพในการขังน้ำอันจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายใน/นอกบ้าน ชุมชน เช่น สนับสนุนให้มีโครงการบ้านสะอาดน่าอยู่ทุกสัปดาห์หรือทุกเดือน - รวมทั้งสนับสนุนให้หน่วยงานท้องถิ่นเกิดความตระหนักในการเก็บกวาดล้างวัสดุ และกองขยะที่อาจเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 3. มีระบบติดตามกำกับประเมินผลในพื้นที่
การทดสอบอัตราตายยุงลายAedes aegyptiและ Ae. albopictusจากการพ่นเคมีควบคุม ยุงพาหะไข้เลือดออกในพื้นที่ชนบท เพ็ชรบูรณ์ พูลผล วทม. (ปรสิตวิทยา) นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สคร. 7 อบ การศึกษากึ่งทดลองภาคสนามโดยวัดอัตราตายของยุงลาย Aedes aegyptiและAe.albopictusจากการพ่นเคมีควบคุมยุงพาหะไข้เลือดออกในพื้นที่ชนบท วัดผลกระทบโดยใช้วิธีประเมินผลจากการวัดความหนาแน่นยุงตัวเต็มวัย และวัดอัตราตายของยุงหลังสัมผัสสารเคมีที่พ่น 1 และ 24 ชม. โดยวิธี Bioassay test เป็นดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการพ่นเคมีควบคุม
Bioassay test Indoor : Ae.aegypti - Hang: Heigh ~1-1.5 m Outdoor : Ae.albopictus - Hang: Heigh ~1-1.5 m, ~ <25 m from street,~10-15m from house
1.วิธีพ่นแบบ ULV (พ่นฝอยละออง) ตารางที่ 1 อัตราตายยุงทดสอบจากการทำ Bioassay test กับวิธีพ่น ULV (t = -0.329, d.f. = 2 , p-value =0.774) หมายเหตุ : ความเร็ว 8 กม./ชม., อัตราการพ่น 250-300 มล./นาที
2.วิธีพ่นแบบFogging (พ่นหมอกควัน) ตารางที่ 2 อัตราตายยุงทดสอบจาก Bioassay test กับวิธีพ่น Fogging หมายเหตุ : อัตราการพ่น 100-200 มล./บ้าน (30 วินาที/หลัง)ตารางที่ 1 และ2 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 4.422, d.f. = 2, p-value =0.048)
3. การประเมินผลกระทบทางกีฎวิทยา ตารางที่ 3 ความหนาแน่นยุงในหมู่บ้านที่พ่น ULV
ตารางที่ 4 ความหนาแน่นยุงในหมู่บ้านที่พ่นFogging จากการเปรียบเทียบความหนาแน่นยุงในหมู่บ้านที่พ่นFoggingและ ULV มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t= -4.749, d.f. = 2 , p-value =0.042)
Table 1 Mortality rate of Ae. aegypti larvae exposed to instant sachet temephos 1%SG collected from LAO-Yasothorn Province Remark : Exp-1 shaky instant-sachet; Exp-2 dunk instant-sachet
Table 2 Mortality rate of Ae. aegypti larvae to instant sachet temephos 1% SG provider by DDC, Ministry of Public Health Remark : Exp-1 shaky instant-sachet; Exp-2 dunk instant-sachet
การนับผู้ป่วยรายแรกของเหตุการณ์หมู่บ้านดาวรุ่งการนับผู้ป่วยรายแรกของเหตุการณ์หมู่บ้านดาวรุ่ง เหตุการณ์ที่ 2 เหตุการณ์ที่ 3 เหตุการณ์ที่ 1 Onset 10 กค 56 Onset 8 มิย 56 Onset 7 พค 56 > 28 วัน > 28 วัน ผู้ป่วยรายแรกเหตุการณ์ที่ 3 แพทย์ Dx : DF 12 กค 56 ผู้ป่วยรายแรกเหตุการณ์ที่ 1 แพทย์ Dx : DHF 8พค56 ผู้ป่วยรายแรกเหตุการณ์ที่ 2 แพทย์ Dx : DHF 9มิย56 ผู้ป่วยรายที่2 เหตุการณ์ที่ 3 แพทย์ Dx : DF 14 กค 56 Onset 12 กค 56 ไม่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นในช่วง >28 วัน นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายสุดท้าย ของแต่ละเหตุการณ์นับเป็นเหตุการณ์ใหม่
การนับผู้ป่วยรายแรกของเหตุการณ์หมู่บ้านดาวเรืองการนับผู้ป่วยรายแรกของเหตุการณ์หมู่บ้านดาวเรือง เหตุการณ์ที่ 1 มี Pt 5 ราย เหตุการณ์ที่ 2 มี Pt 2 ราย วันเริ่มป่วยห่างกัน > 28 วัน (ข) วันวินิจฉัยของผู้ป่วยรายต่อๆไป (11, 13, 24 เมย 56) (ค) ผู้ป่วย รายสุดท้าย ของเหตุการณ์ 1 แพทย์วินิจฉัย ไข้เลือดออก (เริ่มป่วย2พค56) (ง) ผู้ป่วยไข้เลือดออกของ เหตุการณ์ 2 รายแรกเริ่มป่วย 9มิย56 รายที่ 2 เริ่มป่วย 15 มิย 56 (ก) ผู้ป่วยรายแรกที่แพทย์วินิจฉัยไข้เลือด ออก (เริ่มป่วย 7เมย56) ไม่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นในช่วง >28 วัน นับจากวันเริ่มป่วย ของผู้ป่วยรายสุดท้ายของเหตุการณ์ 1 นับเป็นเหตุการณ์ใหม่
การนับผู้ป่วยรายแรกของเหตุการณ์หมู่บ้านดาวเด่นการนับผู้ป่วยรายแรกของเหตุการณ์หมู่บ้านดาวเด่น เหตุการณ์ที่ 1 มี Pt 5 ราย เกิดpt gen 2 เหตุการณ์ที่ 2 มี Pt 2 ราย วันเริ่มป่วยห่างกัน > 28 วัน (ข) วันวินิจฉัยของผู้ป่วยรายต่อๆไป (11, 13, 24 เมย 56) (ง) ผู้ป่วยไข้เลือดออกของ เหตุการณ์ 2 รายแรกเริ่มป่วย 9 มิย 56 รายที่ 2 เริ่มป่วย 15 มิย 56 (ค) ผู้ป่วย รายสุดท้าย ของเหตุการณ์ 1 แพทย์วินิจฉัย ไข้เลือดออก (เริ่มป่วย6พค56) (ก) ผู้ป่วยรายแรกที่แพทย์วินิจฉัยไข้เลือด ออก (เริ่มป่วย 7เมย56) ไม่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นในช่วง >28 วัน นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายสุดท้าย ของเหตุการณ์ 1 นับเป็นเหตุการณ์ใหม่
การควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ เหตุการณ์ 1 กำจัดลูกน้ำและพ่นสารเคมี 9 มิย 56 เริ่ม 24 มิย 56 ต้องไม่มี Pt รายใหม่ 14 วันหลังกำจัดลูกน้ำและพ่นสารเคมีไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ (ก) ผู้ป่วยรายแรกที่แพทย์วินิจฉัยไข้เลือดออก (onset 7 มิย 56)
มาตรฐานความครอบคลุมในการควบคุมแหล่งแพร่โรคมาตรฐานความครอบคลุมในการควบคุมแหล่งแพร่โรค ก.รายงานการปฏิบัติงานควบคุมโรค/ รายงานการสอบสวนโรค ข. กำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วย และบริเวณรอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร (ทุกหลัง) และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ที่เกิดโรค หลังจากการควบคุม มีค่า HI = 0 ค. มีการพ่นสารเคมีในบ้านผู้ป่วย และพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร ง. มีการพ่นเคมีอย่างน้อย 2 ครั้งแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน จ. เฝ้าระวังในชุมชน/พื้นที่อย่างน้อย 28 วันนับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายสุดท้ายของเหตุการณ์
เกณฑ์การสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายเกณฑ์การสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย ควรมีการสุ่มอย่างมีระบบ ตามมาตรฐานของ WHO ดังนี้ จำนวนบ้านที่ต่ำกว่า 100 หลัง ควรสำรวจให้ได้มากที่สุด หรือ ทั้งหมด จำนวนบ้านตั้งแต่ 100-199 หลัง สำรวจ 45 หลังคาเรือน จำนวนบ้านตั้งแต่ 200-299 หลัง สำรวจ 51 หลังคาเรือน จำนวนบ้านตั้งแต่ 300-399 หลัง สำรวจ 54 หลังคาเรือน จำนวนบ้านมากกว่า 400 หลัง สำรวจ 55 หลังคาเรือน ที่มา : World Health Organization. Prevention and Control of Dengue and Dengue Haemorrhagic Fever. Regional Pulbication, SEARO. : New Delhi, 1999.