1 / 19

การวิเคราะห์ข้อสอบ

การวิเคราะห์ข้อสอบ. ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ http://www.prachyanun.com prachyanunn@kmutnb.ac.th. ทำไม ??? ต้องวิเคราะห์ข้อสอบ. เพื่อให้ได้ข้อสอบที่มีคุณภาพ เพื่อให้ได้ข้อสอบที่เหมาะสมจะนำไปวัดและประเมินผลการเรียน

Download Presentation

การวิเคราะห์ข้อสอบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ http://www.prachyanun.com prachyanunn@kmutnb.ac.th

  2. ทำไม ??? ต้องวิเคราะห์ข้อสอบ • เพื่อให้ได้ข้อสอบที่มีคุณภาพ • เพื่อให้ได้ข้อสอบที่เหมาะสมจะนำไปวัดและประเมินผลการเรียน • เพื่อให้ได้ข้อสอบที่สามารถจำแนกผู้เรียน • เพื่อให้ได้ข้อสอบที่ตรงวัตถุประสงค์

  3. ข้อสอบปรนัย • ข้อสอบปรนัยสามารถแบ่งแยกย่อยได้แก่ • แบบตอบสั้นๆ • แบบเติมคำ • แบบจับคู่ • แบบถูก-ผิด • แบบเลือกตอบ

  4. การสร้างข้อสอบ • ศึกษาเนื้อหาและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมตามหลักสูตร • ออกข้อสอบตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการวัด • นำร่างแบบทดสอบมาตรวจสอบ โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ทำการปรับปรุงแบบทดสอบตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ • นำแบบทดสอบที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไข ไปทำการทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง • วิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบถึงค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก และค่าความเชื่อมั่น ให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

  5. ข้อสอบกับตารางวิเคราะห์หลักสูตรข้อสอบกับตารางวิเคราะห์หลักสูตร

  6. แบบทดสอบปรนัย • แบบทดสอบก่อนเรียน • แบบทดสอบระหว่างเรียน (แบบฝึกหัด) • แบบทดสอบหลังเรียน • แบบทดสอบครบทุกบท/ ครอบคลุมวัตถุประสงค์

  7. คุณภาพของแบบทดสอบ • ความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Validity) • ความเชื่อมั่นของข้อสอบ (Reliability) • ความยาก (Difficulty) • อำนาจจำแนก (Discrimination)

  8. IOC: Index of consistency

  9. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อสอบขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อสอบ • IOC • เทคนิค 25 % • กลุ่มคะแนนสูง 25 % • กลุ่มคะแนนต่ำ 25 % • คะแนนกลาง ๆ ตัดทิ้งทั้งหมด • การหาค่าความยากง่าย(P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8 • การหาค่าอำนาจจำแนก (D) ตั้งแต่ 0.25 ขึ้นไป • การหาค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป

  10. การหาค่าความยากง่ายและค่าอำนาจจำแนก ของแบบทดสอบ • P = ระดับความยากง่ายของแบบทดสอบ • D = ค่าอำนาจจำแนก • RU= จำนวนคนที่ทำข้อสอบแต่ละข้อถูก ในกลุ่มเก่ง • RL = จำนวนคนที่ทำข้อสอบแต่ละข้อถูก ในกลุ่มต่ำ • N = จำนวนคนทั้งหมด • NU = จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มเก่ง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อสอบ

  11. ความยากง่าย

  12. อำนาจจำแนก

  13. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อสอบตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อสอบ

  14. ค่าความเชื่อมั่น (KR-20) • ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบ (Reliability index) n S2- pi(1-pi) KR-20 = ni=1 n-1 S2

  15. การเลือกข้อสอบที่วิเคราะห์แล้วการเลือกข้อสอบที่วิเคราะห์แล้ว • IOC ตั้งแต่ 0.8 • ค่าความยากง่าย(P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8 • ค่าอำนาจจำแนก (D) ตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป • ค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป

  16. ตรวจสอบผลการวิเคราะห์ตรวจสอบผลการวิเคราะห์ • มีความบกพร่องที่ตัวข้อสอบเอง เช่น คำถามไม่ ชัดเจน • ออกข้อสอบไม่ตรงตามวัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชาที่กำหนดไว้ เช่น ถามเรื่องที่ไม่สำคัญ หรือตัวเลขที่ไม่จำเป็นต้องจำ • มีความบกพร่องที่การเรียนการสอน ไม่เน้นเรื่องที่สำคัญและต้องรู้

  17. โปรแกรมวิเคราะห์ข้อสอบโปรแกรมวิเคราะห์ข้อสอบ • EVANA • B-Index • Simple Item Analysis • TAP test Analysis • SPSS • ฯลฯ

  18. คำถาม ????

  19. วิทยากร

More Related