340 likes | 773 Views
ก ารจัดทำ RISK PROFILE ตามประเด็นยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551. โดย นางฒิพาพร สิทธิเลิศพิศาล กลุ่มตรวจสอบภาย กรมอนามัย 4-6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ โรงแรมอัมรีแอร์พอร์ท จังหวัดกรุงเทพมหานคร . ไดอะแกรม การจัดทำ Risk Profile. ระบุประเด็นที่ สร้างความเสี่ยงสูง.
E N D
การจัดทำ RISK PROFILEตามประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัยปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โดย นางฒิพาพร สิทธิเลิศพิศาล กลุ่มตรวจสอบภาย กรมอนามัย 4-6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ โรงแรมอัมรีแอร์พอร์ท จังหวัดกรุงเทพมหานคร
ไดอะแกรม การจัดทำ Risk Profile ระบุประเด็นที่ สร้างความเสี่ยงสูง เปรียบเทียบกับเวลาก่อนหน้า กำหนด ยุทธศาสตร์กรมอนามัย ประเมินโอกาส + ความรุนแรง 5 x 5 …. 1 x 1 กำหนด/ จัดลำดับความเสี่ยง ความผันผวน ต่ำหรือสูง? ใช่ สำรวจข้อเท็จจริง ความผันผวน วางเกณฑ์ สร้างความผันผวน* ไม่ใช่ จัดลำดับแผนการจัดการ ทรัพยากรที่จะใช้ ประเมินระดับความเพียงพอ ของทรัพยากร แผนยุทธศาสตร์ ความเสี่ยง คุ้มค่าหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ กำหนดมาตรการ บริหารความเสี่ยง ประเมินกิจกรรมหลัก ตามยุทธศาสตร์
Risk Profiles คือ 1. การประเมินภาพ และแสดงภาพขององค์ประกอบความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ ที่ครบถ้วนทุกด้านด้วย Risk Factor = RF 2. แล้วติดตามว่ามีกิจกรรม แผนปฏิบัติการใด ผลลัพธ์ใดที่เกิดขึ้นจาก Risk Mgn แล้วทำให้ความเสี่ยงลดลงไปจากเวลาก่อนหน้านั้น
Risk Profiles คือ (ต่อ) 3. Risk Profile มี 2 ระดับคือ 3.1 ระดับกรม ใช้ทำยุทธศาสตร์กรมอนามัย 3.2 ระดับหน่วยงานย่อย ใช้ทำยุทธศาสตร์ ระดับหน่วยงาน 4. ภาพรวมที่เห็น อยู่ภายใต้ข้อจำกัด และเงื่อนไขของทรัพยากรที่มี
แนวทางการพัฒนา Risk Profile เพื่อการบริหาร 1. วางระบบสารสนเทศ เพื่อการเก็บรวบรวม outcomesที่เกิดจากการทำแผนงานบริหารความเสี่ยงจากทุกหน่วยงาน 2. เข้าไปสำรวจพื้นที่จริง เพื่อสอบทานผลงานที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปตามที่ระบุในระบบสารสนเทศ 3. ประเมินภาพของ Risk ที่ยังคงเหลือหลังจากแผนงานการบริหารความเสี่ยง ที่จำเป็นต้องมีการบริหารจัดการต่อไป 4. จัดการ Quantify เพื่อเรียงลำดับของความเสี่ยง
แนวทาง การเขียนโครงการ
แนวทางการเขียนโครงการแนวทางการเขียนโครงการ • ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับโครงการ (เหตุผลความจำเป็นหรือปัญหาที่เกิดขึ้น) • วัตถุประสงค์และเป้าหมายโครงการ • กลยุทธ์และกิจกรรมวิธีปฏิบัติ • ผลผลิตกิจกรรม • พื้นที่ดำเนินโครงการ • กลุ่มเป้าหมาย
แนวทางการเขียนโครงการ (ต่อ) • ระยะเวลาโครงการ • งบประมาณ แหล่งที่มาของเงินวงเงิน รายละเอียดการใช้จ่าย • ผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ (เป็นไปตามวัตถุประสงค์) • หน่วยงานที่รับผิดชอบ
แนวทางการเขียนโครงการ (ต่อ) • ผลสัมฤทธิ์ของโครงการแต่ละระดับ (ตัวชี้วัด Out put และ Out come) • ผลกระทบ (Impact) • วิธีการติดตามและประเมินผล “โดยเขียนโครงการให้สอดคล้องและสัมพันธ์กัน”
แนวทางการพัฒนา Risk Profile เพื่อการบริหาร (ต่อ) 5. ประมวลภาพของความเสี่ยงทุกประเภท เพื่อแสดงภาพรวมของ Risk Profile ของกรมอนามัย หรือระดับหน่วยงาน ในระดับ Business Unit
ที่มาของ Risk Profile ประกอบด้วยRisk Assessments + Other Information = “Risk Profiles” ความเสี่ยงกลยุทธ์ การตลาด เครดิต ปฏิบัติการ ไอที การตรวจสอบ + การประเมินตนเอง Risk Profiles การสอบทาน ทบทวนความเสี่ยงข้อกฎหมาย Output ปรัชญา Risk assessment Risk Based Business Decisions การสืบสวน การตรวจสอบ จากที่จริง การศึกษา ค้นคว้า
การวิเคราะห์และการบริหารความเสี่ยงการวิเคราะห์และการบริหารความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง(Risk Analysis) คือการรวบรวมและประมวลผลข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงที่องค์กรต้องเผชิญ (exposure to risks)ซึ่งจะช่วยให้องค์กรตัดสินใจกำหนดแนวทางในการบริหารความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม
Risk Profiles-Value in Making Decisions • ทำให้เข้าถึงความเสี่ยงของกรมอนามัย และ • จัดลำดับความเสี่ยง Ranking ได้ • 2. อำนวยความสะดวกในการทำยุทธศาสตร์ • ของกรมอนามัย • 3. ทำให้เกิดการตัดสินใจบน risk-based ในส่วนหนึ่ง • ของกระบวนการดำเนินงานของกรมอนามัย
Risk Profiles The Right Way To Do Business! 1. เป็นการจัดทำโดยการมองภาพข้ามสายงาน (Cross functional Issues) หรือมองเป็นสายธุรกิจ ที่มีหลายหน่วยงานร่วมในการดำเนินการ ด้วยการระบุ และจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง 2. แนวทางการจัดทำ Risk Profile คือ การตั้งคณะทำงานที่มาจากหลายหน่วยงานเป็นทางการ 2.1 หาความคาดหมายร่วมกัน ในทิศทางเดียวกัน 2.2 หามาตรฐานการปฏิบัติงานเพื่อลดความเสี่ยง 2.3 จัดทำแผนงาน/โครงการบริหารความเสี่ยงร่วมกัน 3. การตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมบริหารความเสี่ยงใช้ Technology & IT based แทน subjective basedโดยการประเมินซ้ำ ๆ กันและมีการถกเถียงกันก่อน
การเขียน Risk Profile Matrix ที่มีประสิทธิภาพ Risk Profile เป็นเครื่องมือด้านสารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจระดับบริหารที่เห็น เป็นเชิงปริมาณได้ชัดเจน และทำให้มองเห็นภาพของรายการความเสี่ยง ระดับกรมได้อย่างเป็นรูปธรรม วิธีการนำเสนอ Risk Profite นำเสนอในรูปกราฟ หรือ Diagram เพื่อแสดงสถานะความเสี่ยงขององค์กร
การมองประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยงการมองประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง • ประโยชน์ด้านยุทธศาสตร์ของกรมอนามัย (Strategic Benefits) • ประโยชน์ด้านการเงิน (Financial Benefits) • ประโยชน์ต่อการบริหารแผนงานโครงการ (Programme Benefits) • ประโยชน์ต่อกระบวนงาน (Business Process Benefits) • ประโยชน์ต่อการบริหารจัดการโดยรวม (Overall Management Benefits)
Risk Profile นิยาม • กระบวนการระบุหาความเสี่ยงที่สำคัญของกรมอนามัยประเมินผลกระทบของความเสี่ยงพัฒนาแนวทางการจัดการกับความเสี่ยงและนำไปปฏิบัติอย่างเป็นระบบ โดยมีการบูรณาการและเน้นความสอดคล้องระหว่างกลยุทธ์ บุคลากร กระบวนงานและเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มคุณค่าสูงสุดให้กับกรมอนามัย • กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการระบุหาและควบคุมความเสี่ยง ซึ่งมีผลกระทบต่อการบรรลุพันธกิจและเป้าประสงค์ของกรมอนามัย
การบริหารความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของใครการบริหารความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของใคร • ทุกคนเกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงในฐานะที่ เป็นผู้ระบุว่ามีความเสี่ยงอะไรบ้างในหน่วยงาน/ โครงการหรืองานของตน • ฝ่ายบริหารของหน่วยงาน • เจ้าของหรือเจ้าภาพความเสี่ยง (Risk Owners) ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงาน เจ้าของโครงการ/เจ้าของงาน ผู้ที่ได้รับมอบหมายเฉพาะ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง(RiskManagement and Review Committee)
เจ้าของ/เจ้าภาพความเสี่ยง (Risk Ownership) • มีการตกลงและมอบหมายการเป็นเจ้าภาพความเสี่ยงอย่าง เป็นทางการ • อาจไม่ใช่คนที่รับผิดชอบการประเมินความเสี่ยงก็ได้แต่ต้อง เป็นคนที่สามารถติดตามดูแลให้มีการบริหารความเสี่ยง อย่างมีประสิทธิภาพ • ต้องมีความชัดเจนว่าใครทำหน้าที่อะไร • ใครเป็นผู้กำหนดนโยบายว่าส่วนราชการจะรับความเสี่ยงได้แค่ไหน • ใครรับผิดชอบการบริหารความเสี่ยงในแต่ละระดับ • ใครรับผิดชอบแต่ละกระบวนการ/ขั้นตอนของการบริหารความเสี่ยง • ใครดูแลการนำมาตรการบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติ • ใครดูแล กรณีที่เป็นความเสี่ยงร่วม (Interdependent risks)
การปรับกระบวนทัศน์ด้านการบริหารความเสี่ยงการปรับกระบวนทัศน์ด้านการบริหารความเสี่ยง
การระบุหาและจำแนกความเสี่ยงในองค์กรการระบุหาและจำแนกความเสี่ยงในองค์กร • สำรวจว่ามีความเสี่ยงใดที่อาจทำให้การทำงานไม่เป็นไปตาม เป้าประสงค์ของส่วนราชการหรือหน่วยงาน (Risks must be identifiedin relation to strategic objectives) • จำแนกความเสี่ยงนั้นๆ ว่าเกิดขึ้นในระดับใดและ เป็นความเสี่ยงประเภทใด (อาจใช้ตารางMatrix) • จัดทำ/เขียน Risk Statement ซึ่งระบุสาเหตุของความเสี่ยงและ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น (What, Why and How Things can arise)
การเขียน Risk Profile Matrix ที่มีประสิทธิภาพ Risk Profile เป็นเครื่องมือด้านสารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจระดับบริหารที่เห็น เป็นเชิงปริมาณได้ชัดเจน และทำให้มองเห็นภาพของรายการความเสี่ยง ระดับกรมได้อย่างเป็นรูปธรรม วิธีการนำเสนอ Risk Profite นำเสนอในรูปกราฟ หรือ Diagram เพื่อแสดงสถานะความเสี่ยงขององค์กร
การระบุหาและจำแนกความเสี่ยงในองค์กร (ต่อ) • การระบุหาและจำแนกความเสี่ยงอาจใช้ • คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง • เจ้าภาพ/เจ้าของความเสี่ยง ประเมินโดยใช้ (Risk Self Assessment) • การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ • สร้างความมั่นใจว่าผู้เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง และข้าราชการ ทุกคน เข้าใจตรงกันเกี่ยวกับความเสี่ยงที่ระบุ (ไม่ควรใช้ การลงคะแนนหากไม่จำเป็น ควรใช้การอภิปรายรับฟังความคิดเห็น) • เก็บข้อมูลความเสี่ยงอย่างเป็นระบบเพื่อง่ายแก่การทบทวน และการจัดทำ Risk Registers and Risk Profile
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยแม่และเด็กยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก วิสัยทัศน์ เป้าหมายหลัก ยุทธศาสตร์ โครงการ/กิจกรรม โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว • การลงทุนเพื่อพัฒนาระบบบริการ MCH ที่ได้มาตรฐาน • โครงการพัฒนาโรงพยาบาลภาครัฐ และเอกชนผ่านเกณฑ์โรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัว • โครงการสนับสนุนระบบบริการ ส่งเสริม ป้องกัน และควบคุมโรคธาลัสซีเมีย • โครงการสนับสนุนระบบบริการป้องกัน • การแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก • โครงการสนับสนุนระบบป้องกันภาวะปัญญาอ่อนจากภาวะพร่องธันรอยด์ • โครงการติดตามมารดาหลังคลอด เพื่อเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กเจริญเติบโต มีพัฒนาการสมวัย เพื่อเป็นรากฐานการ พัฒนาเด็กระยะยาว • โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ระดับทองจังหวัดละ 1 แห่ง • อัตราการถ่ายทอดเชื้อ เอช ไอ วี จาก แม่ สู่ลูก ร้อยละ 4 • ทารกเกิดใหม่ป่วยเป็นธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงลดลงร้อยละ 20 • ทารกที่ผลการตรวจกรองธัยรอยด์ผิดปกติได้รับการตรวจยืนยันและกินธัยรอยด์ฮอร์โมน ร้อยละ 100 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย ชมรม/ แกนนำ/อาสาสมัคร 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร/ ผู้ที่เกี่ยวข้องและพัฒนา องค์ความรู้ 6. เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชมรม/พ่อ/แม่/ ผู้ดูแลเด็ก/ความรู้เพื่อการพัฒนาเด็ก 7. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกระดับ ผู้บริหาร นักวิชาการ จากศูนย์/สสจ./รพศ./รพท./รพช./ PCU/ครู/ ผดด./อบต. 4. สร้างความตระหนัก ขับเคลื่อนทางสังคมประชาสัมพันธ์ความสำคัญ “พัฒนาเด็ก” 8. วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ MCH - คลินิกฝากครรภ์/คลินิกเด็กดีคุณภาพ - รูปแบบบริการส่งเสริมสุขภาพเด็ก เอดส์ - ประเมินผลกระทบเด็ก เอดส์ - ประเมินสมุดบันทึกสุขภาพ 5. มาตรการทางกฎหมาย เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • รวมพลคนกินนมแม่ 10,000 คน • ประกวดสุดยอดคุณแม่ • สัมมนาสื่อมวลชน • ประชาสัมพันธ์ วิทยุ โทรทัศน์ เอกสาร • โครงการนิเทศ ติดตามงานอนามัยแม่และเด็ก • 16. โครงการประเมินโรงพยาบาลสายใยรักฯ • 17. รายงานเฉพาะกิจ ก1 ก2 6. เฝ้าระวัง ควบคุม กำกับ ประเมินผล 13.โครงการผลักดัน Code milk 14.โครงการสร้างทีมเฝ้าระวัง Code milk ระดับจังหวัด
แบบฟอร์ม Strategy Risk Profile กรมอนามัย ปี 2551
คำอธิบายการกรอกแบบฟอร์ม Strategy Risk Profile กรมอนามัยปีงบประมาณ 2551