310 likes | 414 Views
ความรู้ใกล้ตัว เรื่องวินัย. วินัย คือลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการ ควบคุมตนเอง ปฏิบัติตามการนำ อยู่ในระเบียบแบบแผน มีความเป็นระเบียบ. จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการ. 1. เพื่อให้ราชการดำเนินไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ. 2. เพื่อความเจริญ ความสงบ
E N D
ความรู้ใกล้ตัว เรื่องวินัย
วินัยคือลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการวินัยคือลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการ • ควบคุมตนเอง • ปฏิบัติตามการนำ • อยู่ในระเบียบแบบแผน • มีความเป็นระเบียบ
จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการจุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการ 1. เพื่อให้ราชการดำเนินไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อความเจริญ ความสงบ เรียบร้อย ของประเทศชาติ 3. เพื่อความผาสุกของประชาชน 4. เพื่อสร้างภาพพจน์ชื่อเสียงที่ดี ของทางราชการ
พ.ร.บ.ข้าราชการพลเรือนฯพ.ศ.2551พ.ร.บ.ข้าราชการพลเรือนฯพ.ศ.2551 • แยก “ข้อปฏิบัติ” และ “ข้อห้ามปฏิบัติ”ออกจากกันเป็นข้อละมาตรา • จัดกลุ่มความผิดวินัย “ร้ายแรง” และ “ไม่ร้ายแรง” • เพิ่มหลักการเรื่อง “คุกคามทางเพศ”และ “คุ้มครองข้าราชการผู้ให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อราชการ”
มาตรา 84 “ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติตามมาตรา 81 และมาตรา 82 หรือฝ่าฝืนข้อห้ามตามมาตรา 83 ผู้นั้นเป็นผู้กระทำผิดวินัย”
ตนเอง ประเทศชาติ ผู้บังคับบัญชา ประชาชน ตำแหน่ง หน้าที่ ผู้ร่วมงาน
วินัยต่อประเทศชาติ • สนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย • อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตาม • รัฐธรรมนูญด้วยความบริสุทธิ์ใจ (มาตรา 81) • สนใจและรับทราบเหตุการณ์เคลื่อนไหวอันอาจ • เป็นภยันตรายต่อประเทศชาติและต้องป้องกัน • ภยันตรายซึ่งจะบังเกิดแก่ประเทศชาติจน เต็มความสามารถ (มาตรา 86 ปี 35 ) (ปี 51 ไม่มี)
วินัยต่อประชาชน ม.82(8) ต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม ให้การสงเคราะห์ ประชาชน ผู้ติดต่อราชการ เกี่ยวกับหน้าที่ของตน ม.83(9) ต้องไม่ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่หรือข่มเหงประชาชนผู้ติดต่อราชการ ม.85(5) ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหงหรือทำร้ายประชาชนผู้ติดต่อราชการอย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
วินัยต่อผู้บังคับบัญชาวินัยต่อผู้บังคับบัญชา • ปฏิบัติตามคำสั่ง ม.82 (4) • ไม่รายงานเท็จ ม.83 (1) • ไม่กระทำการข้ามผู้บังคับบัญชา • ม.83 (2)
องค์ประกอบ มาตรา 82 (4) 1. มีคำสั่งผู้บังคับบัญชา 2. ผู้สั่งเป็นผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย - กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน - กฎหมายการจัดตั้งส่วนราชการโดยเฉพาะ - พรบ.35 ม. 43 / พรบ. 51 ม. 49 3. สั่งในหน้าที่ราชการ- ผู้สั่งมีหน้าที่ราชการและสั่งให้ปฏิบัติราชการ 4. เป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ 5. มีเจตนา ขอให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคำสั่งได้ถ้าเห็นว่าจะทำให้เสียหาย / ไม่รักษาประโยชน์ของราชการ
มาตรา 83 (1) องค์ประกอบ1. มีการรายงาน2. เป็นเท็จหรือปกปิดข้อความซึ่งควรต้องแจ้ง3. เป็นการรายงานต่อผู้บังคับบัญชา 4. โดยเจตนา
องค์ประกอบ มาตรา 83 (2) 1. เป็นการปฏิบัติราชการ 2. เป็นการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน 3. เป็นผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย 1. ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปเป็นผู้สั่งให้กระทำ 2. ได้รับอนุญาตเป็นพิเศษชั่วครั้งคราว ข้อยกเว้น
วินัยต่อผู้ร่วมงาน • ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือกัน ในการปฏิบัติราชการ(มาตรา 82 (7)) • ต้องไม่กลั่นแกล้ง กดขี่ ข่มเหงกัน ในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 83 (7)) • ต้องไม่กระทำการล่วงละเมิด / คุกคามทางเพศ ตามที่กำหนดใน กฎ ก.พ. (มาตรา 83 (8))
วินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการวินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ 1. ซื่อสัตย์สุจริต
ซื่อสัตย์สุจริต • ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต • และเที่ยงธรรม (ม.82(1)) • ไม่อาศัยตำแหน่งหน้าที่ราชการหาประโยชน์ ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น(ม.83(3)) • ปฏิบัติ/ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ (ม.85(1))- โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด - โดยทุจริต
1. กฎหมายหรือระเบียบ 2. มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 3. คำสั่งหรือการมอบหมายของผู้บังคับบัญชา 4. พฤตินัย หน้าที่ราชการ พิจารณาจาก
การทุจริตต่อหน้าที่ราชการการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ องค์ประกอบ 1. มีหน้าที่ราชการที่จะต้องปฏิบัติ 2. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบ 3. เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ที่มิควรได้ 4. เจตนาทุจริต (เถยจิต)
มติ ค.ร.ม.วันที่ 21 ธ.ค.2536 (นร 0205/ว 234 ลว. 24 ธค.2536) - การลงโทษผู้กระทำผิดวินัยฐานทุจริต ควรลงโทษเป็นไล่ออกจากราชการ - การนำเงินที่ทุจริตไปแล้วมาคืน หรือ มีเหตุอันควรปรานีอื่นใด ไม่เป็นเหตุ ลดหย่อนโทษเป็นปลดออกจากราชการ
2.ม.82 (2) * ข้าราชการต้องปฏิบัติราชการให้เป็นไปตาม - กฎหมาย - ระเบียบของทางราชการ - มติคณะรัฐมนตรี - นโยบายของทางราชการ * ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ
3. ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลดี /ความก้าวหน้าแก่ราชการด้วยความอุตสาหะ เอาใจใส่ระมัดระวังรักษาประโยชน์ของ ทางราชการ (ม. 82(3)) 4. * อุทิศเวลาให้แก่ราชการ (ม. 82(5)) * ละทิ้งหรือทอดทิ้ง โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเหตุให้ เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง (ม.85(2)) *ละทิ้งติดต่อเกินกว่าสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร / มีพฤติการณ์จงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบ (ม.85(3))
5. ต้องไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ (ม.83(4)) 6. รักษาความลับของทางราชการ (ม.82(6)) 7. ไม่หาประโยชน์อันอาจทำให้เสียความเที่ยงธรรม หรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ (ม.83(5)) 8. ไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ ในห้างหุ้นส่วนหรือ บริษัท (ม. 83(6)) 9. วางตนเป็นกลางทางการเมือง ( ม.82(9))
วินัยต่อตนเอง - ต้องรักษาชื่อเสียงของตน รักษาเกียรติศักดิ์ ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย (ม.82(10)) - ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง (ม.85(4)) -กระทำผิดอาญาจนได้รับโทษจำคุก (ม85(6))
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการป้องกันเจ้าหน้าที่ของรัฐ มิให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด พ.ศ. 2542 ประเด็นสำคัญ เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด หรือเป็นผู้ประกันผู้ต้องหาหรือจำเลย โดยใช้หลักทรัพย์หรือสถานะ การเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐในชั้นพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาล ในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในข้อหาผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย ให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ซึ่งจะต้องดำเนินการ ทางวินัยอย่างร้ายแรง เว้นแต่ เป็นการกระทำกับบุคคลซึ่งเป็นสามีหรือภริยา บุพการี หรือ ผู้สืบสันดาน ไม่ว่าชั้นใดๆ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้น
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2496 และวันที่ 6 พฤษภาคม 2546 เรื่อง แนวทางการลงโทษข้าราชการเล่นการพนันและเสพสุรา เล่นการพนัน ปลดออกหรือไล่ออกจากราชการ ประเภทที่กฎหมายห้ามขาด ประเภทที่กม.บัญญัติว่าจะเล่นได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาต ลงโทษตามสมควรแก่กรณี เล่นโดยไม่ได้รับอนุญาต เล่นโดยได้รับอนุญาตแต่หมกมุ่นจนเสียหายแก่ราชการ ลงโทษตามสมควร แก่กรณี
เสพสุรา เสพสุราจนมึนเมาไม่สามารถครองสติได้ ลงโทษตามสมควรแก่กรณี เสพสุราในขณะปฏิบัติหน้าที่ราชการ ปลดออกหรือไล่ออก เมาสุราเสียราชการ ปลดออกหรือไล่ออก เมาสุราในที่ชุมชนจนเกิดเรื่องเสียหายหรือ เสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ราชการ ปลดออกหรือไล่ออก
ป.ป.ช.(ม.4) และ ป.ป.ท.(ม.3) “ทุจริตต่อหน้าที่” ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่อย่างใดในตำแหน่งหรือหน้าที่ หรือ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่อย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทำให้บุคคลอื่นเชื่อว่ามีตำแหน่งหรือหน้าที่ ทั้งนี้ เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบสำหรับตนเองหรือผู้อื่น หรือกระทำการอันเป็นความผิดวินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ ในการยุติธรรม ตาม ป.อาญา หรือกฎหมายอื่น
ป.ป.ช.(ม.92) และ ป.ป.ท.(ม.40) ในกรณีมีมูลความผิดทางวินัย เมื่อคณะกรรมการฯได้พิจารณาพฤติการณ์แห่งการกระทำความผิดแล้วมีมติว่า ผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย ให้ส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอำนาจแต่งตั้งถอดถอนพิจารณาลงโทษทางวินัย ภายใน 30 วัน
ป.ป.ช.(ม.96) และ ป.ป.ท.(ม.40) ผู้ถูกกล่าวหาที่ถูกลงโทษจะใช้สิทธิอุทธรณ์ดุลพินิจในการสั่งลงโทษของผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย ระเบียบฯก็ได้ ทั้งนี้ ต้องใช้สิทธิอุทธรณ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอำนาจแต่งตั้งถอดถอนมีคำสั่งลงโทษ
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.2542 ม.46 ในกรณีที่ตรวจสอบแล้วปรากฏว่า มีพฤติการณ์น่าเชื่อว่าเป็นการทุจริตหรือการใช้อำนาจหน้าที่โดยมิชอบก่อให้เกิดความเสียหายแก่เงินหรือทรัพย์สินของราชการให้แจ้งผลให้ผู้รับตรวจ ผู้บังคับบัญชาฯ แล้วแต่กรณี ดำเนินการตามกฎหมาย และแจ้งผลต่อพนักงานสอบสวนดำเนินคดี