1 / 30

กระบวนการนโยบาย

กระบวนการนโยบาย. Policy Process. กระบวนการนโยบายมีลักษณะเป็นวงจร ประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้นตอน คือ 1. การกำหนดนโยบาย ( Policy Formulation ) 2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ ( Policy Implementation ) 3. การประเมินนโยบาย ( Policy Evaluation ). แสดงขั้นตอนของกระบวนการนโยบาย. 1. การกำหนดนโยบาย.

minda
Download Presentation

กระบวนการนโยบาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการนโยบาย Policy Process

  2. กระบวนการนโยบายมีลักษณะเป็นวงจร ประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้นตอน คือ 1. การกำหนดนโยบาย (Policy Formulation) 2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) 3. การประเมินนโยบาย (Policy Evaluation)

  3. แสดงขั้นตอนของกระบวนการนโยบายแสดงขั้นตอนของกระบวนการนโยบาย 1. การกำหนดนโยบาย 2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ 3. การประเมินผล - ระบุปัญหา - การพัฒนาทางเลือก - การเสนอทางเลือก - การแปลความนโยบาย - การรวบรวมทรัพยากร - การวางแผน - การจัดองค์การ - การดำเนินงาน - การยกเลิก - การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง

  4. การพัฒนานโยบาย (Policy Development) การพัฒนานโยบาย หมายถึง กระบวนการที่ผู้บริหารใช้ในการกำหนดแนวทางเพื่อแก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่งให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยผ่านการตัดสินใจอย่าละเอียดถี่ถ้วนภายใต้ข้อมูล และสารสนเทศที่มีอยู่

  5. ความสัมพันธ์ของขั้นตอนในการพัฒนานโยบายความสัมพันธ์ของขั้นตอนในการพัฒนานโยบาย การพัฒนานโยบาย วัตถุประสงค์ ปัญหา สิ่งแวดล้อม การนำนโยบาย ไปปฏิบัติ การประเมินผล นโยบาย

  6. ขั้นตอนในการพัฒนานโยบายขั้นตอนในการพัฒนานโยบาย • การระบุปัญหา (problem Identification) • การรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศ (Aggregation of Relevant Information) • การเสนอทางเลือกนโยบาย (Policy Alternatives) • การจัดทำนโยบาย (Policy Formulation) • การประกาศใช้เป็นนโยบาย (Policy Implementation)

  7. การนำนโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) การนำนโยบายไปปฏิบัตินั้นต้องมีลักษณะเป็นกระบวนการ ซึ่งมีขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อที่จะให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ ซึ่งนกระบวนการดังกล่าวจะต้องเกี่ยวข้องกับผู้มีหน้าที่รับผิดชอบของภาครัฐ หรือเอกชนทั้งในลักษณะกลุ่มหรือบุคคลก็ได้

  8. ปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่ 1. ตัวแบบยึดหลักเหตุผล (Rational model) 2. ตัวแบบทางด้านการจัดการ (Management model) 3. ตัวแบบด้านการพัฒนาองค์การ (Organization Development model) 4. ตัวแบบด้านกระบวนการของระบบราชการ (Bureaucratic Processes model) 5. ตัวแบบทางการเมือง (Political model) 6. ตัวแบบทั่วไป (General model) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ

  9. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการแปลงนโยบายที่ถูกต้องปัจจัยที่ส่งผลต่อการแปลงนโยบายที่ถูกต้อง ความสอดคล้องกัน ของเป้าหมายนโยบาย ความชัดเจนของนโยบาย ความจริงใจและความ ร่วมมือของหน่วยที่รับผิดชอบ ความเข้าใจในนโยบาย ของหน่วยที่รับผิดชอบ ผลของการแปลงนโยบาย

  10. 1. ประสิทธิผล (effectiveness) 2. ประเมินภาพ (efficiency) 3. ความพอเพียง (adequacy) 4. ความเป็นธรรม (equity) 5. การตอบสนองความต้องการ (responsiveness) 6. ความเหมาะสม (appropriate) การประเมินผลนโยบาย (Policy Evaluation)

  11. แสดงวงจรการประเมินนโยบายแสดงวงจรการประเมินนโยบาย 1. การกำหนดคุณค่า 2. การตั้งวัตถุประสงค์ ในการประเมิน 6. การประเมินผลและ ผลกระทบของนโยบาย 3. การกำหนดเกณฑ์ การวัดวัตถุประสงค์ 5. การประเมิน การปฏิบัติตามนโยบาย 4. การประเมิน การวางนโยบาย

  12. โจนส์ ได้กำหนดขั้นตอนในการประเมินนโยบายไว้ 3 ขั้นตอน คือ 1. การกำหนดรายละเอียด (Specification) 2. การวัดผล (Measurement) 3. การวิเคราะห์ (Analysis) กระบวนการประเมินนโยบาย

  13. การวิเคราะห์นโยบาย Policy Analysis

  14. แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายจำแนกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. การวิเคราะห์นโยบายในแง่ของกระบวนการ เนื้อหา และผลกระทบของนโนบาย 2. การวิเคราะห์นโยบายในแง่ของทางเลือกนโยบาย ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการตัดสินใจในการกำหนดนโยบาย แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบาย

  15. แนวทางในการวิเคราะห์นโยบายมีองค์ประกอบ 3 ประการคือ 1. ระบบนโยบาย (Policy System) แนวทางการวิเคราะห์นโยบาย ผู้เกี่ยวข้องกับนโยบาย สภาพแวดล้อม นโยบายสาธารณะ

  16. 2. องค์ประกอบการวิเคราะห์นโยบาย (The element of policy analysis) 2.1 วัตถุประสงค์ (Objective) 2.2 ทางเลือก (Alternatives) 2.3 ผลกระทบ (Impacts) 2.4 เกณฑ์การวัด (Criteria) 2.5 ตัวแบบ (Models)

  17. 3. กระบวนการวิเคราะห์นโยบาย (The process of policy analysis) 3.1 ระเบียบวิธีการวิเคราะห์นโยบาย (Policy analytic method) 3.1.1 การกำหนดโครงสร้างของปัญหา (Problem Structuring) 3.1.2 การกำกับนโยบาย (Monitoring) 3.1.3 การทำนาย (Forecasting) 3.1.4 การประเมินผล (Evaluation) 3.1.5 การเสนอแนะ (Recommendation) 3.1.6 ระดับปัญหาที่ได้รับการแก้ไข (Practical inference)

  18. ลำดับขั้นของระเบียบวิธีวิเคราะห์นโยบายลำดับขั้นของระเบียบวิธีวิเคราะห์นโยบาย แนวทางเชิงประจักษ์ โครงสร้างปัญหา แนวทาง เชิงประเมิน แนวทาง เชิงปทัสถาน การกำกับนโยบาย การทำนายนโยบาย การประเมินนโยบาย การเสนอแนะนโยบาย ระดับปัญหา ที่ได้รับการแก้ไข

  19. 3.2 ระบบข้อมูลนโยบาย 3.2.1 ปัญหานโยบาย (Policy problem) 3.2.2 ทางเลือกนโยบาย (Policy problem) 3.2.3 การนำนโยบายไปปฏิบัติ (Policy implementation) 3.2.4 ผลลัพธ์นโยบาย (Policy outcomes) 3.2.5 ระดับความสำเร็จของนโยบาย (Policy performance)

  20. ความสัมพันธ์ของระบบข้อมูลนโยบายความสัมพันธ์ของระบบข้อมูลนโยบาย ผลลัพธ์ นโยบาย ปัญหา นโยบาย ทางเลือก นโยบาย การนำ นโยบาย ไปปฏิบัติ ระดับ ความสำเร็จ ของนโยบาย

  21. กระบวนการวิเคราะห์นโยบายกระบวนการวิเคราะห์นโยบาย ปัญหานโยบาย ระดับปัญหาที่ได้รับการแก้ไข โครงสร้างปัญหา การทำนาย ระดับความสำเร็จ ของนโยบาย ทางเลือกนโยบาย ผลลัพธ์นโยบาย การ ประเมินผล การกำกับ การเสนอแนะ การนำนโยบายไปปฏิบัติ

  22. 1. ขั้นการกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ (Formulation) 2. ขั้นแสวงหาทางเลือก (Search) 3. ขั้นการพยากรณ์ (Forecasting) 4. ขั้นการสร้างและการใช้ตัวแบบ (Modeling) 5. ขั้นการประเมินทางเลือก (Evaluation) กระบวนการสำคัญในการวิเคราะห์นโยบาย

  23. การวิจัยนโยบายและการกำหนดนโยบายการวิจัยนโยบายและการกำหนดนโยบาย Policy Making and Policy Research

  24. การวิจัยเป็นกระบวนการในการใช้เหตุผล เพื่อแสวงหาความรู้ แล้วนำข้อความรู้ที่ได้นั้นมาใช้ในการแก้ปัญหา ซึ่งจะต้องกระทำอย่างเป็นระบบโดยอาศัยหลักทางวิทยาศาสตร์ เพื่อสืบเสาะให้ได้คำตอบที่ต้องการ ผลที่ได้จะเป็นประโยชน์ในการนำไปพัฒนาในสิ่งที่ต้องการ ความสำคัญของการวิจัย

  25. การกำหนดนโยบายต้องเกิดจากองค์ประกอบ 2 ประการ คือ 1. จิตนาการ (Imagination) 2. สารสนเทศ (Information) ที่มาของการกำหนดนโยบาย

  26. ขอบเขตในการวิจัยเชิงนโยบายนั้น มี 3 เรื่อง คือ 1. ศึกษาตัวนโยบาย 2. ศึกษาผลของนโยบาย 3. ศึกษากระบวนการกำหนดและพัฒนานโยบาย ขอบเขตของการวิจัยเชิงนโยบาย

  27. 1. มีลักษณะเป็นพหุมิติ (Multi-Dimensional) 2. มุ่งพิจารณาข้อสรุปที่ใช้หลักเหตุผลสอดคล้องกับข้อมูล ซึ่งจะต้องมีที่มาและข้อมูลประจักษ์สนับสนุน 3. ต้องตอบสนองต่อผู้ใช้นโยบาย 4. เน้นตัวแปรที่เปลี่ยนแปลงได้ 5. คุณค่าของงานวิจัยอยู่ที่การออกแบบ และผลของการวิจัย ลักษณะของงานวิจัยเชิงนโยบาย

  28. 1. การประเมินสภาวะแวดล้อม นิยมใช้ในทางเศรษฐศาสตร์ ประชาชน สังคม 2. วิธีการสำรวจ ใช้เพื่อสำรวจสภาวะแวดล้อมทางสังคมว่าเป็นอย่างไร 3. ระเบียบวิธีวิจัยอนาคต ช่วยให้ผู้บริหารมองเห็นภาพอนาคต วิธีวิจัยในกลุ่มนี้ ได้แก่ การวิเคราะห์แนวโน้ม (Trend Analysis), เทคนิคเดลฟาย (Delphi), EDFE, EFR วิธีการวิจัยเชิงนโยบาย

  29. การนำผลการวิจัยเป็นพื้นฐานใวนการกำหนดนโยบาย จะต้องพิจารณาสิ่งต่อไปนี้ 1. มีการกำหนดขอบเขตของการวิจัยให้ชัดเจน 2. มีการกำหนดวิธีการในการวิจัย 3. มีการกำหนดตัวแปร เพื่อนำไปสร้างเป็นเครื่องมือสำหรับการวิจัย การนำผลการวิจัยเป็นพื้นฐานในการกำหนดนโยบาย

  30. 1. ไม่สามารถนำข้อเสนอแนะมาปฏิบัติได้ 2. นักวิจัยไม่สามารถเข้าแหล่งข้อมูลที่ต้องการได้ 3. นักวิจัยเกิดความเบื่อหน่ายท้อแท้ เนื่องจากถูกผู้บริหารมองข้ามข้อเสนอแนะที่อาจเป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 4. นักวิจัยไม่ได้มีความเชี่ยวชาญลึกซึ้งในประเด็นปัญหานโยบายที่ตนเองเข้าไปศึกษา ปัญหาของการวิจัยเชิงนโยบาย

More Related