1 / 28

Dr.Pornchai Thiraveja Senior Expert on Fiscal System and Policy Fiscal Policy Office Ministry of

Dr.Pornchai Thiraveja Senior Expert on Fiscal System and Policy Fiscal Policy Office Ministry of Finance, Thailand. Workshop on Addressing Regional Disparity: Thailand’s Experience and International Lessons. Presentation outline.

mindy
Download Presentation

Dr.Pornchai Thiraveja Senior Expert on Fiscal System and Policy Fiscal Policy Office Ministry of

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Dr.Pornchai ThiravejaSenior Expert on Fiscal System and Policy Fiscal Policy Office Ministry of Finance, Thailand

  2. Workshop on Addressing Regional Disparity: Thailand’s Experience and International Lessons

  3. Presentation outline I. Global economic crisis and impacts to Thailand II. Economic and social disparities in Thailand III. Present and future policies to address disparity issues

  4. I. Global Crisis and Impacts to Thailand

  5. GDP Components: Demand side GDP current price = THB 9,105 Bil GDP constant price =THB 4,370 Bil 2007=1.6 2008=2.5 2009=-2.4 2007=3.4 2008=7.5 2009=-28.4 2007=7.1 2008=5.4 2009=-19.3 2007=9.2 2008=0.5 2009=4.8 2007=3.4 2008=-4.8 2009=0.5 2007=0.6 2008=3.2 2009=-16.9 Fiscal Policy Office

  6. II. Economic and social disparities in Thailand

  7. 2 1 Unequal access to financial system 5 4 3 Poor household have difficulty to access to financial system Proportion of households obtaining credits from financial system (%) Proportion of households with no access to financial system (%) = 13.38 Mill. Households Source : Bank of Thailand • Lowest income households are unlikely to obtain credits from financial system • 5.4 % of lowest income households have difficulty to access to financial system • 83.7 % of households have access to financial credits • 9.6 % of households have no access to the credits as a result of non official collateral

  8. 2 1 Highly unequal land ownership and education 5 4 3 Unequal access to land and education across regions Proportion of population with highest educational attainment in 2007 Gini coefficient of land ownership in 2004 ( 0 = perfect equality , 1 = perfect inequality) 100 % Source : Labor Force Survey Source : WDR,IFAD • More than 36.4 % of population have less than elementary education in the North-East region • Population in Bangkok and metropolis have mainly university education • Land Inequality as a trend to growing inequality of production, income and consumption in the future

  9. 2 1 Unequal access to healthcare and aging society concerns 5 4 3 High share of labor without social security and increase in aging population Proportion of workers without social security (%) Projection of Old-age Dependency Ratio (%) to 2030 27.9 Mil.Workers More than 1/5 of working age ≈ 1/5 of working age Source : NESDB Source : Ministry of Labor • Old-age Dependency ratio follows an increasing trend before reaching 74.1 % in 2030 • An increase in the dependency ratio can cause the fiscal problem for the government • More than third quarter of the workers have no social security at the workplace • Only a small progress of the social security program has been made

  10. III. Present and future policies to address disparity issues

  11. 2 1 Presentpolicies to address disparity issues 5 4 3 To deal with the global crisis, government has mobilized expansionary fiscal policy including supplementary budget in FY2009 as well as planned fiscal expansion for FY2010. Supplementary budget THB116.7bn Tax measures Utilize Special Financial Institutions (SFI) to increase credit in the system by THB 300bn Expedite disbursement of budget Central government budget THB 1.84trn SOE investment budget THB 308bn Local authorities budget THB 366bn 2009 multi-year commitment budget extending to 2010, 2011, 2012 and 2013 areTHB 120bn, THB 50bn, THB 10bn andTHB 2bn, respectively Push forward investment projects Public Infrastructure investment(SP2) planTHB 1.4 trnfor 2010 - 2012

  12. 2 1 Presentpolicies to address disparity issues 5 4 3 Supplementary budget (SP1) aims to tackle economic and social issues arising from crisis Accumulated disbursement – Mil. Baht (Mars 09 – Aug 09) Disbursement rate Budget Items Low income earner support 18,121 96 % • The 2,000 baht "help the nation" cheques handout for earners having a monthly income less than 15,000 Bahts • Socially secured (8.1 million persons) • Public sector official (including pensioners civil servant) 1.3 million persons 15 years free schooling 87 % • Free education for 15 years • (Estimate of 10 million student) 16,525 Sufficiency Economy funds • Sufficiency economy philosophy enhancement on village (increase funding for 78,358 villages) 33 % 5,000

  13. Presentpolicies to address disparity issues: SFIs • Loan growth from the commercial banks have been contracted significantly after crisis Unit : Million Baht (Feb 09 – Jun 09) (Jan 08 – Aug 08) (Oct 08 – Jan 08)

  14. Presentpolicies to address disparity issues: SFIs • On the other hand, loan growth from the SFI have been increased significantly after crisis. Unit : Million Baht BAAC 65% BAAC 65% GSB 23% GHB 12% (Jan 08 – Aug 08) (Feb 09 – Jun 09) (Oct 08 – Jan 08) Source: Macro Bureau; FPO

  15. Presentpolicies to address disparity issues: SFIs In 2009H1, commercial banks’ new loan outstanding contracted considerably, while the SFIs’ new loan outstanding increase considerably as well. Source: Macro Bureau; FPO * Although the total commercial bank’s new business loan outstanding is contracted around -237 billion baht, KTB’s new loan growth had been expanding around 50 billion baht ** In case of SFIs’ consumer loan: BAAC’s GSB’s andGHB’s new loan outstanding (esp. agriculture loan and mortgage) have been increasing considerably during 2009 H1

  16. Presentpolicies to address disparity issues: SFIs New Loan Target of the 6 SFIs According to “Fast Track” Loan Policy

  17. 2 1 Presentand future policies to address disparity issues 5 4 3 Government plans for medium-term investment program (SP2) to enhance economic and social progress and opportunities for all Thai people. THB bn Investment Programs Key Projects Total investment: THB1,431bn • Government to focus on selected projects to ensure implementation efficiency • High impact projects • Feasibility and engineering design done • Most required approval obtained • Achievable within 2010-2011 Implementation Is Key!! • Committee set up to oversee implementation • Regular (weekly) working group meetings to follow up

  18. 2 1 Presentand future policies to address disparity issues 5 4 3 Educational and health improvement to be achieved under SP2 Educational Policy Healthcare Policy National Standard • Improving school standards • Bring down a number of schools under national standards from 2,930 to zero • Facilitate the health accessibility for all • Increase in numbers of external patients at the sub-district level from 40 % to 60 % Investment • Rise in the quantity of equipment at hospital • Increase in the number of beds at hospital from 60,000 to 70,000 • Increasing the quality of IT equipment at school • A number of students per computer expected to be from 38 to 20 persons • Enhance the student literacy • Reducing a number of illiterate students from 160,330 to zero KPIs • Enhance the quality of health services

  19. What 2 1 Future policies to address disparity issues: National Saving Fund 5 4 3 Proposed National Savings Fund • Compulsory savings fund for elder age (60 years old and above), has a defined contribution from the government and has a guarantee return. • Coverage: People who haven’t obtain any protection and social security in regard to other laws that are between 20 – 60 years old will receive the rights to be a member of the fund according to the law. Why • Creating an income after retirement • Increase national saving and support development of capital market How • The benefits payment from the fund: depends on (1) the amount of savings in the individual account, (2) contribution from the government, and (3) the interest return from the management of the fund. • The government guarantees the contribution including minimum interest return in regard to the economic condition and payments in form of pension for life annuity and returns in cash for the left-over portion of the accumulated account.

  20. บริบทของสวัสดิการในประเทศไทยบริบทของสวัสดิการในประเทศไทย • ใช้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญปี 2550 เป็นกรอบในการศึกษา : หมวด 3 เรื่องสิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 เรื่องแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ • มาตรา 49 บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ หรือผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ต้องได้รับสิทธิตามวรรคหนึ่งและการสนับสนุนจากรัฐเพื่อให้ได้รับการศึกษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอื่น…. • มาตรา 51 บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน และผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการ สาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย..... • มาตรา 53 บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ • ให้รัฐให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้พิการหรือทุพพลภาพ ผู้ไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ รวมถึงการให้ความคุ้มครองแก่เด็ก เยาวชน และสตรี

  21. บริบทของสวัสดิการในประเทศไทย(ต่อ)บริบทของสวัสดิการในประเทศไทย(ต่อ) • มาตรา 80 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรมดังต่อไปนี้ (1) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัวและชุมชน รวมทั้งต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตนเองได้ (2) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการเสริมสร้างสุขภาพอันนำไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้เอกชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพและการจัดบริการสาธารณสุข.....

  22. งบประมาณที่ใช้เกี่ยวกับรายจ่ายกลุ่มสวัสดิการงบประมาณที่ใช้เกี่ยวกับรายจ่ายกลุ่มสวัสดิการ • ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (2550- 2552) มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2550 รัฐต้องรับภาระในการจ่ายงบประมาณในส่วนนี้ จำนวน 30,000 ล้านบาท ในขณะที่ปีงบประมาณปัจจุบัน (ปี 2552) เพิ่มขึ้นเป็น 48,500 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 18,500 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 61.7 จากปี 2550 • ค่าใช้จ่ายโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (2550- 2552) มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2550 รัฐต้องรับภาระในการจ่ายงบประมาณในส่วนนี้ จำนวน 75,216 ล้านบาท ในขณะที่ปีงบประมาณปัจจุบัน (ปี 2552) เพิ่มขึ้นเป็น 80,598 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 5,472 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.3 จากปี 2550 • เงินอุดหนุนกองทุนประกันสังคม ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (2550- 2552) มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2550 รัฐต้องรับภาระในการจ่ายงบประมาณในส่วนนี้ จำนวน 21,175 ล้านบาท ในขณะที่ปีงบประมาณปัจจุบัน (ปี 2552) เพิ่มขึ้นเป็น 22,739 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 1,564 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.4 จากปี 2550 • เบี้ยยังชีพคนชรา 500 บาท เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี 2552 ตามนโยบายรัฐบาล โดยรัฐต้องรับภาระในการจ่ายงบประมาณในส่วนนี้ จำนวน 9,000 ล้านบาท ซึ่งงบประมาณในจำนวนนี้เป็นการช่วยเหลือผู้สูงอายุในเบื้องต้น จำนวน 3 ล้านคน อย่างไรก็ดี ในปีงบประมาณต่อไปคาดว่าจะมีผู้สูงอายุที่ได้ขึ้นทะเบียนทั้งระบบ จำนวน 7.1 ล้านราย ซึ่งก่อให้เกิดภาระงบประมาณในแต่ละปี จำนวน 42,600 ล้านบาท • โครงการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยเสียค่าใช้จ่าย 15 ปี เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี 2552 ตามนโยบายรัฐบาลเช่นกัน โดยรัฐต้องรับภาระในแต่ละปีงบประมาณในการจ่ายงบประมาณในส่วนนี้ จำนวน 19,000 ล้านบาท ซึ่งมีนักเรียนที่ได้รับประโยชน์จากโครงการดังกล่าว ประมาณ 13 ล้านคน

  23. งบประมาณที่ใช้เกี่ยวกับรายจ่ายไม่ใช่กลุ่มสวัสดิการคนงบประมาณที่ใช้เกี่ยวกับรายจ่ายไม่ใช่กลุ่มสวัสดิการคน • เงินเดือนและค่าตอบแทน (ไม่รวมเบี้ยยังชีพคนชรา) ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (2550- 2552) มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2550 รัฐต้องรับภาระในการจ่ายงบประมาณในส่วนนี้ จำนวน 443,627 ล้านบาทในขณะที่ปีงบประมาณปัจจุบัน (ปี 2552) เพิ่มขึ้นเป็น 500,223 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 56,596 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.8 จากปี 2550 • เบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ (ไม่รวมเงินอุดหนุนกองทุนประกันสังคม)ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (2550- 2552) มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2550 รัฐต้องรับภาระในการจ่ายงบประมาณในส่วนนี้ จำนวน 98,140 ล้านบาทในขณะที่ปีงบประมาณปัจจุบัน (ปี 2552) เพิ่มขึ้นเป็น 109,220 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 11,080 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.3 จากปี 2550 • เงินอุดหนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตาม พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (2550- 2552) มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2550 รัฐต้องรับภาระในการจ่ายงบประมาณในส่วนนี้ จำนวน 139,974 ล้านบาทในขณะที่ปีงบประมาณปัจจุบัน (ปี 2552) เพิ่มขึ้นเป็น 150,500 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 11,126 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.0 จากปี 2550 • รายจ่ายชำระคืนต้นเงินกู้ ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (2550- 2552) มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2550 รัฐต้องรับภาระในการจ่ายงบประมาณในส่วนนี้ จำนวน 179,625 ล้านบาท ในขณะที่ปีงบประมาณปัจจุบัน (ปี 2552) เพิ่มขึ้นเป็น 222,127 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 42,503 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.7 จากปี 2550

  24. ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างประชากรประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างประชากร

  25. แนวโน้มการจัดหารายได้ของรัฐบาลแนวโน้มการจัดหารายได้ของรัฐบาล • รายได้รัฐบาลเพิ่มขึ้นไม่เพียงพอกับรายจ่าย สัดส่วนรายได้ต่อ GDP ไม่มาก เมื่อเทียบกับประเทศต่าง ๆ ในยุโรปที่เป็นรัฐสวัสดิการ • สัดส่วนรายได้รัฐบาลต่อ GDP ของประเทศไทย เฉลี่ยประมาณร้อยละ 16.2 โดยมีแนวโน้มลดลงอย่างเห็นได้ชัดอยู่ที่ระดับร้อยละ 16.7 และ 14.8 ในปี 2552 และ 2553 ตามลำดับ • ประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศแถบสแกนดิเนเวีย ซึ่งมีการจัดรัฐสวัสดิการให้กับประชาชนค่อนข้างมาก ได้แก่ เดนมาร์ก นอร์เวย์ และสวีเดน จะมีสัดส่วนรายได้ต่อ GDP ค่อนข้างสูงกว่าประเทศอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด โดยทั้ง 3 ประเทศดังกล่าว มีค่าเฉลี่ยรายได้ต่อ GDP ในช่วงปี 2000- 2005 อยู่ที่ร้อยละ 35.3 44.5 และ 33.0 ตามลำดับ

  26. สัดส่วนรายได้ต่อ GDP ปี 2000-2005

  27. ประเด็นทางเลือกที่น่าสนใจประเด็นทางเลือกที่น่าสนใจ • แนวทางที่หนึ่ง เป็นการดำเนินนโยบายที่มุ่งสู่รัฐสวัสดิการ • ยอมรับในระดับหนี้สาธารณะที่สูงขึ้น • ปรับปรุงโครงสร้างการจัดเก็บรายได้ของประเทศเพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น และสามารถรองรับรายจ่ายเพื่อสวัสดิการต่าง ๆ ของประชาชน • ระวังข้อจำกัดด้านขีดความสามารถในการแข่งขัน ภาษีที่รัฐบาลจะสามารถปรับเพิ่มขึ้น จึงเป็นภาษีที่เก็บจากฐานทรัพย์สินเป็นหลัก เช่น ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง หรือภาษีฐานการบริโภคบางรายการ • แนวทางที่สอง เป็นการสร้างบรรยากาศให้มีสวัสดิการโดยใช้เงินออมของประชาชนเป็นหลัก • สร้างระบบการออมของประชาชนทุกระดับให้เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นแรงงานในและนอกระบบ ผู้ประกอบการรายย่อย หาบเร่ แผงลอยต่าง ๆ ให้มีการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการให้แกตนเองมากขึ้น • ออกมาตรการที่จะช่วยลดช่องว่างระหว่างคนจนและคนรวยให้ลดน้อยลง เพื่อให้ทุกคนมีศักยภาพในการหารายได้ที่ใกล้เคียงกันมากขึ้น เช่น การจัดเก็บภาษีให้เป็นอัตราก้าวหน้ามากขึ้น การใช้จ่ายแก่กลุ่มผู้มีรายได้น้อยมากขึ้น เป็นต้น

  28. Dr.Pornchai ThiravejaSenior Expert on Fiscal System and Policy Fiscal Policy Office Ministry of Finance, Thailand

More Related