1 / 57

การพยากรณ์และการเตือนภัย จากสภาวะฝนมากเกินปกติ บริเวณลุ่มน้ำน่านตอนบน

การพยากรณ์และการเตือนภัย จากสภาวะฝนมากเกินปกติ บริเวณลุ่มน้ำน่านตอนบน. รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมโชค พงศกร จิวาภรณ์คุปต์ พูลศิริ ชูชีพ. Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU. วัตถุประสงค์.

Download Presentation

การพยากรณ์และการเตือนภัย จากสภาวะฝนมากเกินปกติ บริเวณลุ่มน้ำน่านตอนบน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพยากรณ์และการเตือนภัยจากสภาวะฝนมากเกินปกติ บริเวณลุ่มน้ำน่านตอนบน รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมโชค พงศกร จิวาภรณ์คุปต์ พูลศิริ ชูชีพ Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  2. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และสร้างแบบจำลองเพื่อคาดคะเนปริมาณฝนล่วงหน้า สภาวะอากาศระดับภูมิภาค ลักษณะภูมิประเทศ ดัชนีเอนโซ กับปริมาณฝน 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และสร้างแบบจำลองเพื่อคาดคะเนปริมาณฝนล่วงหน้าระยะสั้นจากข้อมูลดาวเทียม ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศกับปริมาณน้ำฝน 3. ให้ความรู้ด้านอุตุนิยมวิทยาเพื่อการติดตามสภาพอากาศ และเฝ้าระวังเตือนภัย Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  3. ขอบเขตของการวิจัย • พื้นศึกษาอยู่ในพื้นที่ต้นน้ำน่าน ครอบคลุมพื้นที่อำเภอทุ่งช้าง อำเภอปัว และอำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  4. วิธีการดำเนินการวิจัยวิธีการดำเนินการวิจัย • ติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดปริมาณน้ำฝนแบบอัตโนมัติ • รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความเหมาะสมของข้อมูลที่จะใช้ในการศึกษา • วิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้ำฝน ร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียม • วิเคราะห์ข้อมูลสภาวะอากาศระดับภูมิภาค ดัชนีเอนโซ ข้อมูลปริมาณน้ำฝนบริเวณลุ่มน้ำน่านตอนบน • จัดอบรมความรู้ทั่วไปด้านอุตุนิยมวิทยาแก่ชุมชนเครือข่ายลุ่มน้ำน่านตอนบน Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  5. กรอบแนวความคิดของการวิจัยกรอบแนวความคิดของการวิจัย Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  6. หลักการและทฤษฎี • กระบวนการเกิดเมฆและฝน • สภาพภูมิอากาศประเทศไทย • ภาพถ่ายดาวเทียม Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  7. กระบวนการเกิดเมฆและฝนกระบวนการเกิดเมฆและฝน • กระบวนการเกิดเมฆ ประกอบด้วยปัจจัย 3 ประการ คือ • ไอน้ำในอากาศ (Water vapor) • กลวิธีในการควบแน่น (Mechanism of condensation) • แกนควบแน่น (Condensation nuclei) Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  8. กระบวนการเกิดเมฆและฝน (ต่อ) Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  9. ชนิดของเมฆ จำแนกตามลักษณะการเกิดและความสูง Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  10. ชนิดของเมฆ จำแนกตามความสูง Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  11. ปัจจัยเสริมในการเกิดเมฆและฝนปัจจัยเสริมในการเกิดเมฆและฝน Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  12. สภาพภูมิอากาศประเทศไทยสภาพภูมิอากาศประเทศไทย • สภาพภูมิอากาศแบบแห้งและชื้นเขตร้อน (Tropical wet and dry climate, AW) ฤดูแล้งชัดเจนนานระหว่าง 1 ถึง 6 เดือน ปริมาณฝนต่ำกว่า 60 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นกลุ่มพืชผลัดใบ • สภาพภูมิอากาศแบบป่าฝนเขตร้อน (Tropical rainforest climate, AF) ฝนตกมากและทุกเดือนฝนตกมากกว่า 60 มิลลิเมตร พืชพรรณส่วนใหญ่เป็นป่าดงดิบชื้นเขตร้อน กลุ่มพืชจะผลัดใบไม่ชัดเจน พบว่ามีพืชใบเขียวตลอดปี Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  13. ฤดูกาล • ช่วงฤดูหนาวจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (NM:Northeast monsoonal season) • ช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูหนาวเข้าสู่ฤดูร้อน (SIM:Summer intermonsoonal season) • ช่วงเริ่มต้นฤดูฝนจากอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (OSM:Onset Southwest monsoonal season) • ช่วงกลางฤดูฝนจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (SM:Southwest monsoonal season) • เปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว (WIM:Winter intermonsoonal season) Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  14. การหมุนเวียนของกระแสอากาศการหมุนเวียนของกระแสอากาศ Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  15. ภาพถ่ายดาวเทียม • ภาพถ่ายดาวเทียมชนิดอินฟาเรด Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  16. ภาพถ่ายของดาวเทียม MTSAT ในช่วงคลื่น Visible ช่วงเวลากลางวัน ช่วงเวลากลางคืน Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  17. ภาพถ่ายดาวเทียมปริมาณไอน้ำ Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  18. ผลการศึกษา • การกระจายของปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน • การกระจายของปริมาณน้ำฝนเชิงพื้นที่ • การกระจายของปริมาณน้ำฝนตามเวลา • การกระจายความหนักเบาของฝนตามช่วงเวลาและการปรากฏซ้ำ • การกระจายความหนักเบาของฝนตามช่วงเวลา • การกระจายของความหนักเบาของฝนและช่วงเวลาปรากฏซ้ำ • การพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน • การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนรายวัน และสภาวะอากาศระดับภูมิภาค • โปรแกรมการประเมินปริมาณฝนจากภาพถ่ายดาวเทียม Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  19. ปริมาณน้ำฝนรายปีเฉลี่ยของสถานีตรวจอากาศบ้านกอก อำเภอเชียงกลาง สถานีตรวจอากาศอำเภอทุ่งช้าง และสถานีตรวจอากาศอำเภอท่าวังผา จากเส้นชั้นค่าปริมาณน้ำฝน พบว่า รายปีเฉลี่ยระหว่าง 1,600.0 – 2,000.0 มิลลิเมตรซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้ำฝนค่อนข้างสูง Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  20. การกระจายของปริมาณน้ำฝนเชิงพื้นที่บริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบนการกระจายของปริมาณน้ำฝนเชิงพื้นที่บริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน

  21. การกระจายของปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบนการกระจายของปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน การกระจายปริมาณน้ำฝนรายปีของทั้ง 3 สถานี พบว่า ปริมาณฝนแต่ละสถานีแตกต่างกันในเชิงปริมาณแต่ไม่มีความแตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบในช่วงเวลาที่ผ่านมา Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  22. การกระจายของปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน(ต่อ)การกระจายของปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน(ต่อ) • การกระจายของปริมาณน้ำฝนตามเวลา • ร้อยละของปริมาณน้ำฝนตามฤดูกาล ในปีน้ำมาก ปีปกติ และปีน้ำน้อย ของสถานีตรวจอากาศบ้านกอก อำเภอเชียงกลาง สถานีตรวจอากาศอำเภอทุ่งช้าง และสถานีตรวจอากาศอำเภอท่าวังผา Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  23. กระจายของฝนตามฤดูกาลในปีน้ำมาก ปีปกติ และปีน้ำน้อย ของสถานีตรวจอากาศบ้านกอก อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  24. กระจายของฝนตามฤดูกาลในปีน้ำมาก ปีปกติ และปีน้ำน้อย ของสถานีตรวจอากาศอำเภอทุ่งช้าง Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  25. กระจายของฝนตามฤดูกาลในปีน้ำมาก ปีปกติ และปีน้ำน้อย ของสถานีตรวจอากาศอำเภอท่าวังผา Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  26. จำนวนวันที่มีฝนตกสถานีบ้านกอกจำนวนวันที่มีฝนตกสถานีบ้านกอก Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  27. จำนวนวันที่มีฝนตกสถานีทุ่งช้างจำนวนวันที่มีฝนตกสถานีทุ่งช้าง Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  28. จำนวนวันที่ฝนทิ้งช่วงสถานีบ้านกอกจำนวนวันที่ฝนทิ้งช่วงสถานีบ้านกอก Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  29. จำนวนวันที่ฝนทิ้งช่วงสถานีทุ่งช้างจำนวนวันที่ฝนทิ้งช่วงสถานีทุ่งช้าง Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  30. การกระจายความหนักเบาของฝนตามช่วงเวลาและการปรากฏซ้ำการกระจายความหนักเบาของฝนตามช่วงเวลาและการปรากฏซ้ำ • การกระจายของปริมาณน้ำฝนตามเวลา การกระจายของฝนที่ตกต่อเนื่องไม่เกิน 3 ชั่วโมง Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  31. การกระจายความหนักเบาของฝนตามช่วงเวลาและการปรากฏซ้ำ(ต่อ)การกระจายความหนักเบาของฝนตามช่วงเวลาและการปรากฏซ้ำ(ต่อ) • การกระจายของปริมาณน้ำฝนตามเวลา การกระจายของฝนที่ตกต่อเนื่องมากกว่า 3 ชั่วโมง Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  32. เปรียบเทียบความหนักเบาของฝนในช่วงเริ่มต้นฤดูฝนและช่วงปลายฤดูฝนเปรียบเทียบความหนักเบาของฝนในช่วงเริ่มต้นฤดูฝนและช่วงปลายฤดูฝน Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  33. การกระจายความหนักเบาของฝนตามช่วงเวลาการกระจายความหนักเบาของฝนตามช่วงเวลา • อิทธิพลจากร่องความกดอากาศต่ำกำลังแรง หรือกำลังอ่อน (AITCZ, WITCZ) Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  34. การกระจายความหนักเบาของฝนตามช่วงเวลา(ต่อ)การกระจายความหนักเบาของฝนตามช่วงเวลา(ต่อ) • อิทธิพลจากดีเปรสชั่นและความกดอากาศต่ำหรือพายุหมุนเขตร้อน(LOW&DEP) Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  35. 500 200 100 50 20 10 5 2 จากข้อมูลฝนจากการตรวจวัดสถานีตรวจวัดน้ำฝนบ้านกอก ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2545 - 2549 เป็นเวลา 5 ปีได้สมการ i = 629.3T0.0888 / (t+2)0.729 เมื่อ I= ความหนักเบาของฝน (rainfall intensity, mm/hr) T = ช่วงเวลาการตกของฝน (duration, min) T = ช่วงเวลาปรากฏซ้ำ (return period, years) • การกระจายของความหนักเบาของฝนและช่วงเวลาปรากฏซ้ำ Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  36. การพยากรณ์ปริมาณน้ำฝนการพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน • การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนรายวัน และสภาวะอากาศระดับภูมิภาค (Synoptic weather condition) Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  37. การพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน(ต่อ)การพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน(ต่อ) • โปรแกรมการประเมินปริมาณฝนจากภาพถ่ายดาวเทียม • เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับค่าความสว่างของ pixel จากภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาของประเทศจีนชื่อ FengYun-2C (FY-2C) โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม ใน 2 ช่วงคลื่น ได้แก่ ช่วงคลื่นรังสีความร้อน (Infrared; 10.3-11.3 µm) และช่วงตรวจวัดปริมาณไอน้ำ (Water vapor; 6.3-7.6 µm)สามารถดาวน์โหลดข้อมูลจากเว็บไซต์กรมอุตุนิยมวิทยา Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  38. ภาพถ่ายดาวเทียมช่วงคลื่นรังสีความร้อน (Infrared; 10.3-11.3 µm) ภาพถ่ายดาวเทียมช่วงตรวจวัดปริมาณไอน้ำ (Watervapor; 6.3-7.6 µm) Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  39. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพถ่ายดาวเทียมกับปริมาณน้ำฝนการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพถ่ายดาวเทียมกับปริมาณน้ำฝน • ทำการคัดเลือกเฉพาะวันที่มีฝนตกจากเครื่องวัดน้ำฝนแบบอัตโนมัติ และตรงกับที่มีข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมช่วงคลื่น IR และ Water Vapor ต่อเนื่องและสอดคล้องกัน • วิเคราะห์ค่าความสว่างของภาพ (Brightness) ในภาพดาวเทียมแบบ IR และวิเคราะห์รหัสสี RGB ของภาพดาวเทียม Water Vapor • นำค่าความสัมพันธ์ดังกล่าวมาเชื่อมโยงกับข้อมูลน้ำฝนรายชั่วโมง Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  40. กราฟความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิยอดเมฆ (องศาเซลเซียส) ในภาพถ่ายชนิด IR ของดาวเทียม FY-2C กับปริมาณน้ำฝนรายชั่วโมง (มิลลิเมตร) Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  41. กราฟความสัมพันธ์ระหว่างค่าสเกลสีในภาพถ่ายดาวเทียมชนิด WV ของดาวเทียม FY-2C กับปริมาณน้ำฝนรายชั่วโมง (มิลลิเมตร) Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  42. หน้าต่าง ภาพ ช่องที 3 หน้าต่าง ภาพ ช่องที 3 หน้าต่าง ภาพ ช่องที 1 หน้าต่าง ภาพ ช่องที 1 หน้าต่าง เมนู หน้าต่าง เมนู หน้าต่าง ภาพ ช่องที 4 หน้าต่าง ภาพ ช่องที 4 หน้าต่าง ภาพ ช่องที 2 หน้าต่าง ภาพ ช่องที 2 การพัฒนาโปรแกรมประเมินปริมาณน้ำฝน Rain SAT • ส่วนประกอบของโปรแกรม Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  43. 1 2 3 หน้าต่างเมนู (Menu Windows) สำหรับเลือกฟังก์ชั่นทำงาน ปรับพิกัด และเลือกภาพ • ฟังก์ชั่นแสดงภาพ • ฟังก์ชั่นเปรียบเทียบรูปแบบของสี • ฟังก์ชั่นวิเคราะห์ก้อนเมฆจากเรดาร์ Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  44. ส่วนของหน้าต่างจำนวน 4 หน้าต่าง เพื่อแสดงภาพที่ 1 ถึง 4 ซึ่งสามารถทำงานได้แตกต่างกันตามฟังก์ชั่นใช้งาน Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  45. Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  46. Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  47. ค่าการสะท้อนของหยดน้ำ (dBZ) จากการตรวจวัดโดยวิธี Plan Position Indicator Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  48. เปรียบเทียบช่วงค่าการสะท้อนของหยดน้ำ (dBZ) จากการตรวจวัดของเรดาร์ตรวจอากาศกับแนวโน้มความหนักเบาของฝน ที่มา : Promasakha na Sakolnakhon (2008) Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  49. ฟังก์ชั่นหาก้อนเมฆจากภาพถ่ายดาวเทียมฟังก์ชั่นหาก้อนเมฆจากภาพถ่ายดาวเทียม • ค่าสีที่กำหนดให้แสดงแทนช่วงปริมาณน้ำฝน (มิลลิเมตร) ในโปรแกรม Rain SAT Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

  50. ภาพตัวอย่างในการประเมินปริมาณน้ำฝนภาพตัวอย่างในการประเมินปริมาณน้ำฝน Environmental Geotechnology and Natural Disaster Research Unit, KU

More Related