220 likes | 415 Views
Basic. Configuration. 4. องค์ประกอบของอุปกรณ์เครือข่าย ขั้นตอนการบูท การ เทอมินัล และ เวอร์ช่วลเทอมินัล โหมดต่างๆ ใน CLI การตั้งค่าพาสเวิร์ด การตั้งค่าที่อยู่ IP บนจุดเชื่อมต่อ การบันทึกการตั้งค่า. 4-1. Fast Ethernet LAN Interface. WIC Slot 0. หน่วยประมวลผลหลัก : CPU (Processor).
E N D
Basic Configuration 4
องค์ประกอบของอุปกรณ์เครือข่ายองค์ประกอบของอุปกรณ์เครือข่าย • ขั้นตอนการบูท • การเทอมินัล และเวอร์ช่วลเทอมินัล • โหมดต่างๆ ใน CLI • การตั้งค่าพาสเวิร์ด • การตั้งค่าที่อยู่ IP บนจุดเชื่อมต่อ • การบันทึกการตั้งค่า 4-1
Fast Ethernet LAN Interface WIC Slot 0 หน่วยประมวลผลหลัก: CPU (Processor) WIC Slot 1 หน่วยความจำถาวร: ROM (Read-Only Memory) WIC 1T (one serial port) หน่วยความจำแก้ไขได้: Flash (SIMM/EEPROM) NVRAM (Non-Volatile RAM) NVRAM CPU หน่วยความจำชั่วคราว: RAM (SIMM/DIMM/DRAM) RAM (DIMM Slot) ROM FLASH อินเตอร์เฟส: LAN Interface WAN Interface อุปกรณ์แต่ละรุ่นจะมีตำแหน่งของส่วนประกอบย่อยไม่เหมือนกัน (ในที่นี้ใช้รุ่น 1721 เป็นเกณฑ์) RAM (On Board)
CPU: ประมวลผลคำสั่งตามที่ IOS และอุปกรณ์เชื่อมต่ออื่นร้องขอ ID PROM (Hardware revision, MAC (BIA) for each int.) Fast Ethernet LAN Interface WIC Slot 0 WIC Slot 1 Trained by for on Feb 27th, 2009 เรียก IOS จาก Flash IOS เลือกได้ตอนรัน Bootstrap Bootstrap POST RAM/DRAM: พื้นที่จัดเก็บข้อมูลชั่วคราว แบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วนประมวลผลคำสั่งต่างๆ ของ CPU เช่น การตั้งค่าปัจจุบัน (Running Config) ARP cache และ Routing table อีกส่วนไว้บัฟเฟอร์ข้อมูลที่จะฟอร์เวิร์ด ROMMON เรียก configจาก NVRAM ขอข้อมูล Con fig Interface: รับส่งสัญญาณไฟฟ้าบนสื่อ ถอดและเข้ารหัสเป็นข้อมูลเบื้องต้น เพื่อให้ CPU ประมวลผล และเลือกส่งต่อไปยังอินเตอร์เฟสที่ต้องการต่อไป Routing Table ARP Cache NVRAM Shared I/O เป็นหน่วยความจำชั่วคราว (ต้องการไฟเลี้ยง) และแก้ไขได้ CPU RAM (DIMM Slot) ROM: (Boot ROM; ID PROM) Boot ROM: ทำ POST และเก็บโค้ด Bootstrap เพื่อสั่งโหลด IOS และการตั้งค่าขึ้นมา (ตาม Config-register ที่ตั้งไว้) และเก็บ ROMMON (และ RxBoot) ซึ่งเป็นโหมด mini-IOS สำหรับแก้ไขปัญหากรณีบูทปกติไม่ขึ้น (=POST+Bootstrap+ROMMON+RxBoot) ID PROM: เก็บค่าคงที่ของฮาร์ดแวร์ และ MAC (ที่ตั้งค่า 3 ไบต์ท้ายมาจากผู้ผลิตตายตัว; Burned-in Address (BIA)) ของ LAN Interface ROM NVRAM: เก็บการตั้งค่าที่จะนำมาใช้เมื่อบูทเราท์เตอร์อีกครั้ง (Startup-Config) FLASH Flash: เก็บอิมเมจ IOS (และ Backup Config) ไว้ มีทั้งแบบ EEPROM, PCMCIA และ Compact Flash รู้จักเครือข่ายเบื้องต้น RAM (On Board) เป็นหน่วยความจำถาวร แต่แก้ไขได้ 1 เป็นหน่วยความจำถาวร แต่แก้ไขได้ เราท์เตอร์CISCO 2 เป็นหน่วยความจำถาวร แก้ไขได้ยาก ติดตั้ง ตรวจสอบ และแก้ปัญหา 3
ลักษณะ POST เหมือน BIOS ของคอมพิวเตอร์ทั่วไป • ทดสอบความพร้อมระบบขั้นต้น Power-On-Seft-Test (POST) • โหลดโค้ด Bootstrap จาก ROM (รวมถึงอ่านค่า Config-Register) • หาตำแหน่ง และโหลด IOS มาไว้ที่ RAM • หาตำแหน่ง และโหลดไฟล์การตั้งค่า (Config) มาไว้ที่ RAM • เริ่มอ่านข้อมูลการตั้งค่า 4-4
IOS 4-5
ตำแหน่งของไฟล์ต่างๆ (Default) dir all-filesystems • Flash : IOS และ VLAN.dat (ฐานข้อมูล VLAN) • NVRAM : Startup-Config • Config-Register (Show version) • เป็นค่าที่ตั้งไว้ใน ROM เพื่อระบุที่อยู่และวิธีการโหลด IOS / Config • 0x2102(ค่าปกติ): สั่งเรียก Startup-Configจาก NVRAM มาใช้ • 0x2142: ให้ข้ามการโหลด Startup-Config(ไว้แก้ปัญหาลืมพาสเวิร์ด) 4-6
เทอมินัล (Terminal) คือ การเข้าถึงอุปกรณ์ เพื่อป้อนค่า (Input) และให้แสดงผล (Output) ได้เหมือนคอมพิวเตอร์ • การเทอมินัลอุปกรณ์เครือข่าย ทำได้โดยเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับพอร์ทคอนโซลของอุปกรณ์ (ผ่านโปรแกรมเทอมินัล) เป็นการเชื่อมต่อแยกออกจากสื่อที่ใช้ในเครือข่าย (Out-of-Band) เช่น Modem • การเวอร์ช่วลเทอมินัล (Virtual Terminal) คือการเทอมินัลจำลองที่ผ่านแอพพลิเคชั่นโปรโตคอล ซึ่งรับส่งข้อมูลบนสื่อที่ใช้บนเครือข่ายร่วมกับข้อมูลปกติ (In-Band) • แอพพลิเคชั่นโปรโตคอลที่นิยมใช้เวอร์ช่วลเทอมินัล ได้แก่ • Telnet: รับส่งข้อมูลโดยไม่เข้ารหัส (Clear Text) ไม่ปลอดภัย • Secure Shell (SSH): เข้ารหัส จึงปลอดภัยกว่า 4-7
การเทอมินัลผ่านพอร์ทคอนโซลโดยใช้สายที่พลิกลำดับสายกลับตรงปลาย (Rollover Cable) 4-9
โปรแกรมที่ใช้เทอมินัล เช่น HyperTerminal, SecureCRT, Putty • บางแอพพลิเคชั่นสามารถใช้ผ่าน Cmdบนวินโดวส์ได้ เช่น Telnet, OpenSSH (ต้องติดตั้งเพิ่มก่อน) 4-10
ออกทีละโหมดด้วยคำสั่ง Exit เทอมินัล Router Console Router Console Routing Pro. Config Line Config Router Console Interface Config SubmodeConfig โหมด EXEC (User) Router# Router# configure terminal Router(config)# Router(config)# interface xx Router(config-if)# Router(config)# line xxx Router(config-line)# Router> Router> enable Router(config)# router xxx Router(config-router)# Router(config)# xxx yyy Router(config-xxx)# โหมด Enable (Privilege) โหมด Global Config 4-11 ออกจากโหมดตั้งค่าทั้งหมดมาที่อีนาเบิล ด้วยการกดปุ่ม Ctrl+Zหรือ Ctrl+C
พาสเวิร์ดในกรณีนี้คือ พาสเวิร์ดที่ป้องกันการเทอมินัล และการเข้าโหมดอีนาเบิล • พาสเวิร์ดป้องกันการเทอมินัลในที่นี้ ได้แก่ • พาสเวิร์ดคอนโซล (Console Password) • พาสเวิร์ดเวอร์ช่วลเทอมินัล(Virtually Terminal Password) ถ้าไม่ตั้งพาสเวิร์ดนี้ จะไม่สามารถเวอร์ช่วลเทอมินัล(Telnet/SSH) มาได้ • ส่วนพาสเวิร์ดอื่นๆ เช่น พาสเวิร์ดที่ใช้ป้องกันการเชื่อมต่อบนเครือข่าย หรือ พาสเวิร์ดที่ทำให้ใช้ฟีเจอร์บางอย่างร่วมกับอุปกรณ์ตัวอื่น จะกล่าวไว้ในบทอื่น • “นั่นคือ พาสเวิร์ดเหล่านี้ไม่เกี่ยวข้องการเชื่อมต่อบนเครือข่าย” 4-12
ranet1 console ranet2 Internet (ไม่ปลอดภัย ไม่ควรใช้) ranet3 (ควรใช้คำสั่งนี้แทน) ranet3 4-13
อินเตอร์เฟสที่จะตั้งที่อยู่ IP (L3) ได้ ต้องเป็นอินเตอร์เฟสที่ทำงานบน L3 หรือแบ่งเครือข่าย (Broadcast Domain) บนอินเตอร์เฟสได้ เช่น อินเตอร์เฟสบน เราท์เตอร์ อินเตอร์เฟส VLAN บนสวิตช์ • ดังนั้น อินเตอร์เฟสกายภาพของสวิตช์ L2 จึงตั้งที่อยู่ IP ไม่ได้ • ข้อมูลที่อยู่ไอพีที่ต้องตั้งค่า คือ IP address และ Subnet Mask เพื่อให้อุปกรณ์รู้ Network ID บนอินเตอร์เฟสของตัวเองได้ • อินเตอร์เฟส L3 นี้ จะถูกปิด (shutdown; administratively down) โดยดีฟอล์ท เพื่อให้ผู้ดูแลระบบเลือกเปิดใช้งานด้วยคำสั่ง “no shutdown” เฉพาะที่ต้องใช้เท่านั้น เพื่อความปลอดภัย ดังนั้น อย่าลืมสั่ง “no shutdown” หลังตั้งค่าที่อยู่ไอพีด้วยเสมอ 4-14
Router Console Router(config)# interface serial0/0 Router(config-if)# ip address 192.168.0.254 255.255.255.252 Router(config-if)# no shutdown Router(config-if)# exit Router(config)# exit Router# show ip interfaces brief Interface IP-Address OK? Method Status Protocol Serial0/0 192.168.0.254 YES manual up up 4-15
Router Console Router# copy running-config startup-config Destination filename [startup-config]? Building configuration... [OK] • ข้อมูลการตั้งค่าที่ใช้งานอยู่ (Running-config) อยู่ในรูปข้อมูลที่พร้อมใช้จากระบบบน RAM • ดังนั้น ถ้าไม่บันทึกลง NVRAM (ให้อยู่ในรูป Startup-config) เมื่อเกิดปัญหาหรือต้องปิดเครื่อง ข้อมูลการตั้งค่าจะสูญหาย • ให้ใช้คำสั่ง “copy running-config startup-config” ในโหมดอีนาเบิล • (ในข้อสอบแล็ป ไม่สามารถใช้คำสั่ง write หรือ write memory แทนได้) 4-16
Cisco (Link-Layer) Discovery Protocol • Cisco Proprietary • ทำงานระดับ Link-Layer (แต่ถูก Encapsulate ด้วย Link-Layer Header) • ดังนั้น จึงทำงานได้แค่ Line Protocol up C1841 C2600 Router Console Ranet-R2 Router#showcdp neighbor Capability Codes: R - Router, T - Trans Bridge, B - Source Route Bridge S - Switch, H - Host, I - IGMP, r - Repeater, P - Phone Device ID Local IntrfceHoldtme Capability Platform Port ID Ranet-SW Fas 0/1 140 S 2960 Fas 0/20 Ranet-R1 Fas 0/0 154 R C2600 Fas 0/0 Ranet-R2 Ser 0/0/0 136 R C1841 Ser 0/0/0 Ranet-R1 All Line Protocol: Up S0/0/0 Fa0/0 S0/0/0 Fa0/0 Ranet-R Fa0/1 Fa0/20 Ranet-SW 2960 4-17 Hello Time: 60 s Max Holdtime: 180 s
Cisco (Link-Layer) Discovery Protocol C1841 C2600 Router Console Ranet-R2 Router#showcdp neighbor detail Device ID: Ranet-SW Entry address(es): IP address : 12.0.0.2 Platform: cisco 2960, Capabilities: Switch Interface: FastEthernet0/1, Port ID (outgoing port): FastEthernet0/1 …(ละไว้) Device ID: Ranet-R1 Entry address(es): IP address : 10.0.0.2 Platform: cisco C2600, Capabilities: Router Interface: FastEthernet0/0, Port ID (outgoing port): FastEthernet0/0 …(ละไว้) Device ID: Ranet-R2 Entry address(es): IP address : 11.0.0.2 Platform: cisco C1841, Capabilities: Router Interface: Serial0/0/0, Port ID (outgoing port): Serial0/0/0 Ranet-R1 All Line Protocol: Up S0/0/0 Fa0/0 11.0.0.2 10.0.0.2 S0/0/0 Fa0/0 Ranet-R Fa0/1 Fa0/20 Ranet-SW 2960 Vlan1 IP: 12.0.0.2 4-18
Cisco (Link-Layer) Discovery Protocol C1841 C2600 Ranet-R2 Ranet-R1 All Line Protocol: Up S0/0/0 Fa0/0 11.0.0.2 10.0.0.2 S0/0/0 • อาจมีปัญหาด้านความปลอดภัย • คำสั่งการเปิด (ปิด) โปรโตคอล CDP: • สั่งทุกอินเตอร์เฟสบนอุปกรณ์ • Router(config)# (no) cdp run • สั่งบนแต่ละอินเตอร์เฟส • Router(config-if)# (no) cdp enable Fa0/0 Ranet-R Fa0/1 Fa0/20 Ranet-SW 2960 Vlan1 IP: 12.0.0.2 4-19
คำสั่งอื่นที่ควรรู้ • show version: ดูข้อมูลอุปกรณ์ตัวเอง ทั้ง ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ • show process: ดูปริมาณการใช้ CPU ของแต่ ละโปรเซส • show memory: ดูปริมาณหน่วยความจำ (RAM) ที่ถูกใช้งาน 4-20