1 / 96

หลักการวิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา

หลักการวิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา. อาจารย์มธุรส ทิพยมงคลกุล ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์. ตัวแปรคืออะไร.

minh
Download Presentation

หลักการวิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการวิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนาหลักการวิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา อาจารย์มธุรส ทิพยมงคลกุล ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์

  2. ตัวแปรคืออะไร • คุณลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ ที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต สามารถนำมาศึกษาวัดได้ นับได้ หรือแจกแจงได้ คุณลักษณะและคุณสมบัติเหล่านี้เปลี่ยนแปลงได้ หรือเปลี่ยนค่าได้ อาทิ ความคิดเห็น ความพึงพอใจ ฐานะทางการเงิน ฐานะทางสังคม จำนวนสมาชิกในครอบครัว • ตัวแปรในงานวิจัย คือตัวชี้วัดในการประเมิน X Y

  3. การจำแนกตัวแปร จำแนกตามลักษณะการเก็บข้อมูล ตัวแปรเชิงเดี่ยว หมายถึงตัวแปรที่มีความหมายในตนเอง เช่น เพศ ตัวแปรเชิงประกอบ หมายถึงตัวแปรที่เกิดจากตัวแปรเชิงเดี่ยวหลายตัว เช่น บรรยากาศองค์กร คุณภาพชีวิต จำแนกตามคุณลักษณะของตัวแปร ตัวแปรเชิงปริมาณ เช่นอายุ น้ำหนัก ส่วนสูง ความดันโลหิต ระดับคลอเลสเตอรอล ตัวแปรเชิงคุณภาพ เพศ อาชีพ ทัศนคติ ความรู้ การรับรู้ ความสามารถ จำแนกตามความสัมพันธ์ของตัวแปร ตัวแปรต้น หรือตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม

  4. รูปแบบการวัดของตัวแปรรูปแบบการวัดของตัวแปร หมายถึง รูปแบบการวัดความละเอียด ความหยาบในการบอกความแตกต่างระหว่างคุณสมบัติของตัวแปรที่อยู่ในหน่วยเดียวกัน แบ่งเป็น 4 รูปแบบดังนี้ • นามมาตรา (Nominal scale) เช่น เพศ การศึกษา • อันดับมาตรา (Ordinal scale) เช่น ความรุนแรงของโรค • ช่วงมาตรา (Interval scale) เช่น อุณหภูมิ • อัตราส่วนมาตรา (Ratio scale) เช่น คะแนน รายได้ น้ำหนัก ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ (ต่อเนื่อง)

  5. การพรรณนาข้อมูล จุดมุ่งหมาย เพื่อให้เกิดความเข้าใจ โดยการพรรณนา หรืออรรถาธิบายลักษณะการเกิดเหตุการณ์/โรค/ผลลัพธ์ที่สนใจศึกษา ตามปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น การพรรณนาการเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้ประสบภัยน้ำท่วม ใน 6 จังหวัดของภาคกลาง พบภาวะซึมเศร้าของผู้ประสบภัยในจังหวัดปทุมธานีร้อยละ...สูงกว่าจังหวัดอื่นๆ

  6. หลักการพรรณนาข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ • ค่าเฉลี่ย (SD)ข้อมูลมีการแบบแจกแจงแบบปกติ ข) ค่ามัธยฐาน (IQR)ข้อมูลมีการแจกแจงแบบอื่นๆ ค) ค่าฐานนิยม ง) กราฟ ข้อมูลเชิงคุณภาพ จำนวน สัดส่วน เช่น ร้อยละ ความชุก (ต่อประชากรแสนคน) อุบัติการ (ต่อประชากรแสนคน) กราฟ

  7. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณการพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยควอไทล์ (Interquartile range, IQR) ค่าฐานนิยม หมายถึงค่าของจำนวนที่มีความถี่สูงสุด

  8. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณการพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูล(x): 12, 24, 24, 36, 54, 72, 145, 145, 62, 24, 1 เรียงใหม่: 1, 12, 24, 24, 24, 36, 54, 62, 72, 145, 145 Mean = (12+24+24+36+54+72+145+145+62+24+1)/11 = 54.45 (49.54) Median = 36 ตรงกับลำดับที่ 6 ได้มาจาก (11+1)/2 IQR = (0.75*11+1)-(0.25*11+1) = Mode = 24

  9. การกระจายตัวของข้อมูลเชิงปริมาณการกระจายตัวของข้อมูลเชิงปริมาณ ปกติ เบ้ซ้าย

  10. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณด้วย Histogram

  11. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณด้วย Boxplot * 0 Outliers Max 75 percentile IQR Median 25 percentile Min

  12. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณด้วย Stem and Leaf score Stem-and-Leaf Plot Frequency Stem & Leaf 3.00 3 . 002 10.00 3 . 6677888999 14.00 4 . 01122233333344 25.00 4 . 5555666777778888888899999 29.00 5 . 00000000111111222333333344444 42.00 5 . 555555566666666777777777888888899999999999 46.00 6 . 0000000000011111111111112222222233333334444444 39.00 6 . 555555666677777777778888888888889999999 28.00 7 . 0000000111111112222223333344 9.00 7 . 666788999 4.00 8 . 0001 Stem width: 10.00 Each leaf: 1 case(s)

  13. การพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพการพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงคุณภาพสามารถพรรณนาได้ด้วยจำนวน และสัดส่วน ซึ่งอาจคิดเป็นต่อร้อย ต่อพัน ต่อหมื่น ต่อแสน แล้วแต่ขนาดของตัวหาร • นามมาตรา (Nominal scale) เช่น เพศ การศึกษา หรือการจัดกลุ่มข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น กลุ่มรายได้ • อันดับมาตรา (Ordinal scale) เช่น ความรุนแรงของโรค หรือการจัดกลุ่มข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น ระดับผลการเรียน

  14. การพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพการพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพ

  15. การพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพการพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพ

  16. การพรรณนาข้อมูลด้วย SPSS

  17. การเปิดไฟล์ข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลจากโปรแกรมอื่นๆ จัดเก็บในไฟล์สกุล *.sav การวิเคราะห์จะถูกเก็บในไฟล์สกุล (*.spo)

  18. Compute เป็นการสร้างตัวแปรใหม่ โดยใช้การคำนวณทางคณิตศาสตร์

  19. Recode เป็นการปรับเปลี่ยนค่าของตัวแปร

  20. Select Case

  21. Split file

  22. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณการพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณ

  23. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณการพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณ

  24. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณการพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณ

  25. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณการพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณ

  26. การพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพการพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพ

  27. การพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพการพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพ

  28. การพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพการพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพ

  29. ผลการวิเคราะห์

  30. การพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพการพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพ

  31. สถิติเพื่อการเปรียบเทียบสัดส่วนสถิติเพื่อการเปรียบเทียบสัดส่วน Independent sample • Fisher’s exact test • Chi-square test Dependent sample McNemar’s test Cochran Q test

More Related