1 / 46

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

AEC. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. CAMBODIA. ASEAN ( A ssociation of S outh E ast A sian N ations). อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. ปี 2540. ปี 2540. ปี 2510. ปี 2538. ปี 2510. ปี 2510. ปี 2542. ปี 2527. ปี 2510.

minnie
Download Presentation

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. AEC กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  2. CAMBODIA ASEAN (Association of South East Asian Nations) อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510 ปี 2510 2

  3. ไทยอยู่ตรงไหน?? ในอาเซียน Note: Latest available data in Year 2009 Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2011

  4. เทียบกับอาเซียนไทยมีศักยภาพเป็นลำดับต้นๆเทียบกับอาเซียนไทยมีศักยภาพเป็นลำดับต้นๆ Note: Latest available data in Year 2009 Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2011

  5. วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของอาเซียน Building Blocs of ASEAN Integration Bangkok Declaration ASEAN 2510 CEPT-AFTAAgreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for ASEAN Free Trade Area 2535 AFAS ASEAN Framework Agreement on Services 2538 AICO ASEAN Industrial Cooperation Scheme 2539 AIAFramework Agreement on the ASEAN Investment Area ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit 2541 ASEAN CharterASEAN Community + Declaration on AEC Blueprint 2550 ATIGA ASEAN Trade in Goods Agreement 2552 2554 ACIA ASEAN Comprehensive Investment Agreement

  6. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ชุมชนอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC (AEC Blueprint) One Vision One Identity One Community ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

  7. พิมพ์เขียว AEC พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint

  8. …. มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC One Vision, One Identity, One Community

  9. AEC 4 เป้าหมายภายใต้ AEC Blueprint เพื่อประสานกลายเป็นหนึ่งเดียว คือ อาเซียน 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี โครงสร้างพื้นฐาน เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 e-ASEAN 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก สนับสนุนการพัฒนา SMEs ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย ลดช่องว่างการพัฒนา IAI จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค การมีส่วนร่วมภาครัฐ-เอกชน PPE

  10. 1. อาเซียนจะกลายเป็นตลาดร่วมอย่างสมบูรณ์ ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์/อุปสรรคนำเข้าระหว่างอาเซียนด้วยกันหมดไป ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง สินค้า ทำธุรกิจบริการในอาเซียนได้อย่างเสรี บริการ การลงทุนในอาเซียนทำได้อย่างเสรี การลงทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แรงงานฝีมือ การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรียิ่งขึ้น เงินทุน ความมั่นคงด้านอาหาร เกษตร ป่าไม้ ความร่วมมือ

  11. 1.1 ภาษีสินค้า/อุปสรรคนำเข้าจะหมดไปกลายเป็นตลาดอาเซียน 1. ภาษีนำเข้าสินค้า – ต้องเป็นศูนย์(ลดเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536) - 1 ม.ค. 53อาเซียน 6 (SG 100%, TH 99.8%,BR 99.2%, PH 99%, IN 98.7%, ML 98.4%) - 1 ม.ค. 58 อาเซียน 4 (CLMV) 2. อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) - ต้องหมดไป - อาเซียน 5 (1 ม.ค. 53) ฟิลิปปินส์ (1 ม.ค. 55) CLMV (1 ม.ค. 58) 3. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (ROOs) – เพิ่มทางเลือกอย่างเท่าเทียม (co-equal) - RVC (40), CTC, PSRs 4. มาตรฐานร่วม – ให้สอดคล้องกับระบบสากลและระหว่างอาเซียน -เครื่องใช้ไฟฟ้า ความปลอดภัยทางไฟฟ้า องค์ประกอบด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ยาง เภสัชกรรม (กำลังดำเนินการ - เกษตร ประมง ไม้ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง เครื่องมือแพทย์ ยาแผนโบราณ อาหารเสริม) 5. พิธีการทางศุลกากรที่ทันสมัย - อำนวยความสะดวกทางการค้า - ASEAN Single Window, Self-Certification

  12. 1.2 อาเซียนสามารถถือหุ้นได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน ปี 2556 (2013) ปี 2553 (2010) ปี 2551 (2008) ปี 2558 (2015) ปี 2549 (2006) สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม e-ASEAN (โทรคมนาคม-คอมพิวเตอร์) สุขภาพ/ท่องเที่ยว/การบิน 70% PIS: Priority Integration Sectors โลจิสติกส์ 70% 49% 51% 70% สาขาอื่นๆ 49% 51% 49% 51% เป้าหมายการเปิดเสรีบริการ = 128สาขาย่อย ไทยสามารถขยายธุรกิจบริการในอาเซียนได้ โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร สุขภาพ ซ่อมรถ ก่อสร้าง การศึกษา เป็นต้น รวมทั้งดึงดูดการลงทุนเข้ามาในประเทศมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เป็นช่องทางให้อาเซียนเข้ามาประกอบธุรกิจบริการในไทยได้สะดวกขึ้น เกิดการแข่งขัน ทำให้เอกชนไทยมีโอกาสพัฒนาธุรกิจมากขึ้น FLEXIBILITY สามารถไม่เปิดเสรี ในบางสาขาย่อยได้

  13. 1.3 อาเซียนจะกลายเป็นศูนย์กลางการลงทุนทั่วโลก NT – MFNการลงทุนในอาเซียนจะเปิดเสรีและโปร่งใสมากขึ้น FLEXIBILITY หากยังไม่พร้อมเปิดเสรี สามารถทำข้อสงวนไว้ได้ • Challenges • นโยบายเชิงรุกเพื่อดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน • นโยบายสนับสนุนให้มีการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น FDI Portfolio เกษตร บริการเกี่ยวเนื่อง ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ การผลิต • ACIAความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement) - ลงนามปี 2552 • IGAความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนอาเซียน (ASEAN Agreement for the Promotion and Protection of Investment/ Investment Guarantee Agreement) - ปี 1987 • AIAกรอบความตกลงว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (Framework Agreement on the ASEAN Investment Area) - ปี 1998

  14. 1.4 อาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น MRAไม่ได้เป็นการเปิดตลาดแต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ สาขาวิศวกรรม MRAs ข้อตกลงยอมรับร่วมนักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ สาขานักสำรวจ* สาขานักบัญชี* สาขาสถาปัตยกรรม สาขาแพทย์ สาขาพยาบาล สาขาทันตแพทย์ * ยังเป็นเพียง Frameworkหรือ หลักการกว้างๆ โดยต้องมีการเจรจาในรายละเอียดต่อไป 14

  15. 1.5 อาเซียนจะมีการรวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่างเป็นระบบ

  16. 1.6 อาเซียนเสริมสร้างความร่วมมือรองรับการเปิดเสรีในอนาคต อาหาร สร้างความมั่นคงทางอาหารและบรรเทาปัญหาเร่งด่วน/ขาดแคลน สร้างระบบและกระบวนการในการควบคุมคุณภาพอาหาร จัดทำระบบการรับรองให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เกษตรพัฒนาแนวทางปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร มาตรฐานการผลิต เก็บเกี่ยว และจัดการหลังเก็บเกี่ยว กำหนดระดับปริมาณสารพิษตกค้างและเกณฑ์การรับรองสินค้าปศุสัตว์ ป่าไม้จัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนและกำจัดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม โดยการเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากร การถ่ายทอดเทคโนโลยี การสร้างความเข้มแข็งของการบังคับใช้กฎหมาย

  17. 2. อาเซียนจะเป็นภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขันสูง นโยบายการแข่งขันผลักดันให้ทุกประเทศมีนโยบายและกฎหมายการแข่งขัน เพื่อสร้างวัฒนธรรมของการแข่งขันทางธุรกิจที่ยุติธรรม (ประเทศที่มีกฎหมายแข่งขัน ได้แก่อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ไทย) จัดตั้งคณะผู้เชี่ยวชาญเพื่อหารือและประสานงาน การคุ้มครองผู้บริโภคพัฒนามาตรการด้านการคุ้มครองผู้บริโภคควบคู่กับมาตรการด้านเศรษฐกิจ (ประเทศที่มีกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม ลาว) จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานในการปฏิบัติ/ตรวจสอบกลไกภายในภูมิภาค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาบังคับใช้แผนปฏิบัติการสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาและแผนงานด้านลิขสิทธิ์ จัดตั้งระบบการจัดเก็บเอกสารสำหรับการออกแบบ โครงสร้างพื้นฐานจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านการขนส่งเพื่อสร้างความเชื่อมโยงด้านการขนส่งทุกรูปแบบ (ทางบก ทางอากาศ ทางน้ำ) และอำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายสินค้า จัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริมความมั่นคงด้านพลังงาน (ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)จัดทำแผนแม่บทด้าน ICTกำหนดมาตรการเพื่ออำนวยความสะดวกด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้กรอบความตกลง e-ASEAN

  18. 3. อาเซียนจะเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน

  19. 4. อาเซียนจะเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก • เป็นการเปิดตลาดใหม่ที่มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างการเข้าถึงตลาด รักษาความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน • ดำเนินการ 2 แนวทางคู่ขนาน • (1) รวมกลุ่มภายในอาเซียน เพื่อเป้าหมายสูงสุด คือ AEC • (2) ขยาย FTAs ของอาเซียน ; • ASEAN Plus (+3 +6) --- TPP ??? อนาคต ??? ASEAN FTAs++ or ASEAN Hub 19

  20. India ACFTA AIFTA China AEC AJCEP AANZFTA Australia New Zealand Japan AKFTA Korea อาเซียนจะต่อยอดจากความตกลงเดิมที่มีอยู่??? 5 FTAs ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา – ปัจจุบัน “Living Agreements” สินค้า : ลงนาม 29 พ.ย. 47 มีผล 1 ม.ค. 48 บริการ : ลงนาม 14 ม.ค. 50 มีผล 1 ก.ค. 50 ลงทุน : ลงนาม 15 ส.ค. 52 มีผล เม.ย. 53 สินค้า : ลงนาม 13 ส.ค. 52 มีผล 1 ม.ค. 53 บริการ/ลงทุน : กำลังเจรจา สินค้า/บริการ/ลงทุน : ไทยลงนาม 11 เม.ย. 51 สำหรับไทย มีผล 2 มิ.ย. 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 ก.พ. 52 มีผล 1 ม.ค. 53 (ไทยให้สัตยาบัน 12 มี.ค. 53) สินค้า : อาเซียนอื่นลงนาม 28 ส.ค. 49 บริการ : อาเซียนอื่นลงนาม 21 พ.ย. 50 ไทย :บริการ ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 มิ.ย. 52 สินค้า ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 ต.ค. 52 ลงทุน: ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิ.ย. 52 มีผล 31 ต.ค. 52

  21. EU ?? Russia GCC MERCOSUR FTA ของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา – อนาคต…. AEC Mercado Comun del Surตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง Gulf Cooperation Councils บาห์เรน คูเวต โอมาน กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาเจนตินา ปารากวัย บราซิล อุรุกวัย เวเนซูเอลา

  22. การขยายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคการขยายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาค AJCEP AKFTA ACFTA AIFTA RCEP AEC AANZFTA Regional Comprehensive Economic Partnership 23

  23. ASEAN Framework on Regional Comprehensive Economic Partnership (RCEP) • RCEPเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่สำคัญของอาเซียนที่จะบูรณาการเศรษฐกิจเข้ากับโลกภายนอกตามเป้าหมายในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) • ผู้นำอาเซียน (พ.ย. 2554) รับรองเอกสาร “ASEAN Framework for Regional Comprehensive Economic Partnership” ซึ่งเป็นกรอบและหลักการพื้นฐานของอาเซียนในการขยายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยการจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับคู่ภาคี ASEAN+1 FTAs (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) ที่สนใจจะเข้าร่วม โดยวางบทบาทให้อาเซียนเป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการ • ขณะนี้อาเซียนอยู่ระหว่างการจัดทำแม่แบบของการเปิดเสรีในด้านต่างๆ เช่น ขอบเขต หลักการ และกลไกการดำเนินงาน และตั้งเป้าหมายจะประกาศเปิดการเจรจากับคู่เจรจาในช่วงต้นปี 2556

  24. Emerging Regional Architecture …

  25. Emerging regional architecture … in figures (2010)

  26. โครงสร้างการดำเนินการด้านเศรษฐกิจของอาเซียนโครงสร้างการดำเนินการด้านเศรษฐกิจของอาเซียน ภายในอาเซียน อาเซียนกับคู่เจรจา (+1,+6) ASEAN Summit ASEAN + … Summit ASEAN Economic Ministers Meeting : AEM AEM+คู่เจรจา SEOM+คู่เจรจา Senior Economic Officials Meeting : SEOM Joint Committee, Implementing Committee, TNC Working Groups (SCROO, CCA, etc.) Working Groups (ROO, EC, etc.)

  27. ความก้าวหน้าของภาครัฐ ในการเป็น AEC

  28. การดำเนินการของภาครัฐในการเป็น AEC จร. ได้รับแต่งตั้งจากครม.เมื่อ 8 ก.พ. 54 ให้เป็น “AEC Coordinating Agency” ของไทย สำนักยุทธศาสตร์และการบูรณาการสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  29. หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบแต่ละด้าน ภายใต้ AEC กระทรวงพาณิชย์ • การเคลื่อนย้ายเสรีสินค้าและบริการ (เปิดเสรี & อำนวยความสะดวก) • นโยบายการแข่งขันทางการค้า การคุ้มครองผู้บริโภค ทรัพย์สินทางปัญญา SMEs, การทำ FTA กับประเทศคู่เจรจา เศรษฐกิจ BOI - การเปิดเสรี การอำนวยความสะดวก การส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน การลงทุน กระทรวง การคลัง - การเคลื่อนย้ายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น การพัฒนาตลาดทุน ความร่วมมือด้านการเงินกับประเทศคู่เจรจา เช่น จีน เกาหลี ญี่ปุ่น การคลัง กรมศุลกากร - การปรับพิธีการศุลกากรให้สอดคล้องกันและทำให้ง่ายขึ้น โดยสอดคล้องกับ องค์การศุลกากรโลก (WCO) ศุลกากร

  30. หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบแต่ละด้าน ภายใต้ AEC กระทรวงเกษตรฯ • การสร้างความมั่นคงด้านอาหารในภูมิภาค • การอำนวยความสะดวก & ส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร และป่าไม้ในภูมิภาค • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันภาคเกษตรและป่าไม้ เกษตรและป่าไม้ กระทรวงพลังงาน • การสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน การเชื่อมโยงแหล่งพลังงานในภูมิภาค • ความร่วมมือด้านพลังงานกับประเทศคู่เจรจา เช่น จีน เกาหลี ญี่ปุ่น และองค์กรระหว่างประเทศ พลังงาน กระทรวง คมนาคม • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ • การเปิดเสรีและการอำนวยความสะดวกด้านขนส่งและโลจิสติกส์ • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันสาขาการขนส่งและโลจิสติกส์ • การพัฒนาระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบในภูมิภาค การขนส่ง กรมอุตฯพื้นฐาน&การเหมืองแร่ • - การสร้างความยั่งยืนของแหล่งแร่ธาตุและให้มีการนำมาใช้อย่างคุ้มค่า • การพัฒนาแนวทางปฏิบัติที่ดีในการจัดหาแหล่งแร่ธาตุ • การอำนวยความสะดวกและส่งเสริมการค้าการลงทุนในสาขาแร่ธาตุ • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์กรในสาขาแร่ธาตุ แร่ธาตุ

  31. หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบแต่ละด้าน ภายใต้ AEC กระทรวงวิทย์ฯ • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโลโลยี • การสร้างเครือข่ายองค์กรด้านวิทยาศาสตร์เพื่อการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ • การส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมและการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวง ICT • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT • การสร้างเครือข่ายและความมั่นคงด้าน ICT ในภูมิภาค • การส่งเสริมการค้าการลงทุน การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในสาขา ICT โทรคมนาคมและสารสนเทศ กระทรวงการท่องเที่ยวฯ • การพัฒนาสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว และการพัฒนากลยุทธ์การตลาดและการลงทุนในเชิงสร้างสรรค์ • การพัฒนาคุณภาพบุคลากร การให้บริการ และสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว การท่องเที่ยว สภาพัฒน์ • การสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคลากรของประเทศ CLMV โดยคำนึงถึงความต้องการของแต่ละประเทศ • การบริหารจัดการเงินทุนและทรัพยากรเพื่อสนับสนุนโครงการ IAI โดยร่วมมือกับประเทศคู่เจรจา องค์กรระหว่างประเทศ และภาคเอกชน การลดช่องว่างการพัฒนา

  32. การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน Public-Private Policy Dialogue สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม ยานยนต์ • เป็นเวทีหารือด้านนโยบายระหว่าง AEM กับผู้แทนระดับสูงจากภาคเอกชนในสาขาที่คัดเลือก ร่วมกับ สภาที่ปรึกษาธุรกิจอาเซียน (ASEAN Business Advisory Council – ABAC) และสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน (ASEAN Chamber of Commerce and Industry – ASEAN CCI) อิเล็กทรอนิกส์ โลจิสติกส์

  33. AEC Scorecard • เป็นเครื่องมือในการวัดผลการปฏิบัติตามพันธกรณีของประเทศสมาชิกอาเซียนตามมาตรการที่ต้องดำเนินการในแต่ละช่วงของ AEC Blueprint • มีการวัดผลทุก 2 ปี ทั้งอาเซียนในภาพรวม และเป็นรายประเทศ • ช่วงที่ 1 ปี 2008-2009 • ช่วงที่ 2 ปี 2010-2011 • ช่วงที่ 3 ปี 2012-2013 • ช่วงที่ 4 ปี 2014-2015 • AEC Council เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นใหม่เพื่อกำกับดูแลการดำเนินงานไปสู่ AEC และรายงานผลต่อผู้นำอาเซียนเป็นประจำทุกปี

  34. ความคืบหน้าของอาเซียนและไทย ตาม AEC Scorecard หมายเหตุ: มาตรการที่ไทยยังทำไม่ได้ ได้แก่ การเปิดเสรีบริการ และการให้สัตยาบันพิธีสารด้านขนส่ง

  35. ปัญหาอุปสรรคของไทย

  36. ผลกระทบจาก AEC

  37. ใครบ้างที่จะได้รับผลกระทบจาก AEC ? ผู้ค้า เกษตรกร ผู้บริโภค แรงงาน ประชาชน นักธุรกิจ นักวิชาชีพ

  38. โอกาสและความท้าทายจาก AEC

  39. สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับชุมชนท้องถิ่นสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับชุมชนท้องถิ่น ผู้ประกอบการ SMEs • สามารถนำเข้าวัตถุดิบจากอาเซียน ภาษี 0% • มีโอกาสขยายตลาดสินค้าและบริการในอาเซียน • มีโอกาสสร้างพันธมิตรธุรกิจกับผู้ประกอบการในอาเซียน • คู่แข่งทางธุรกิจในอาเซียนมากขึ้น อาจถูกแย่งตลาดไป ธุรกิจภูมิปัญญาท้องถิ่น • สามารถนำเข้าวัตถุดิบจากอาเซียน ภาษี 0% • มีโอกาสขยายตลาดสินค้าและบริการในอาเซียน • มีโอกาสสร้างพันธมิตรกับผู้ประกอบการในอาเซียน • ความท้าทายในการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ ประชาชน • มีโอกาสเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมในอาเซียนมากขึ้น • โอกาสเลือกซื้อสินค้า บริการหลากหลาย ราคายุติธรรม • อาจได้รับผลกระทบจากสินค้าและบริการที่ไม่ได้มาตรฐานมากขึ้น

  40. สินค้าที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบสินค้าที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ • สินค้าที่ไทยได้เปรียบ สินค้าเกษตรและอุปโภคบริโภค เช่น ข้าว ธัญพืช • ผลไม้สดและแปรรูป อาหาร สินค้าหัตถกรรมเช่น ผ้าไหม ของตกแต่งบ้าน • สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์และชิ้นส่วน สินค้าที่ไทยได้เปรียบ สินค้าที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปิด เสรีการค้าในอาเซียน เช่น น้ำมันปาล์ม (มาเลเซีย) เมล็ดกาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว (ฟิลิปปินส์) และ ชา (อินโดนีเซีย)

  41. บริการที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบบริการที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ • บริการที่ไทยได้เปรียบ การท่องเที่ยว ภาคบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว • อาทิ ร้านอาหาร และโรงแรม • บริการด้านสุขภาพเช่น โรงพยาบาล บริการสปา นวดแผนไทย บริการที่ไทยเสียเปรียบ สาขาที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบ เช่น โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงินลงทุน และเทคโนโลยีสูง ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลางและ ขนาดเล็ก

  42. ภาคเอกชนไทยมีความพร้อมแค่ไหนภาคเอกชนไทยมีความพร้อมแค่ไหน • ระดับความรู้ความเข้าใจของภาคเอกชนไทย • ไม่รู้ และไม่คิดจะรู้ • รู้ แต่ไม่รู้เรื่อง เห็นเป็นเรื่องไกลตัว • รู้ แต่ไม่รู้จะปรับตัวอย่างไร • รู้ เห็นเป็นโอกาส มีการปรับตัวเชิงรุก • 2.เราจะตั้งรับอย่างเดียวไม่ได้แล้ว • เอกชนต้องมีการปรับตัวให้รองรับ • การเปลี่ยนแปลงจาก AEC โดยเฉพาะ SMEsเป็นกลุ่มใหญ่ที่ยังขาดความพร้อม และรัฐไม่ควรละเลย ส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ที่มีความพร้อมทั้งเงินทุนและบุคลากร

  43. ภาคเอกชนไทยควรเตรียมความพร้อมอย่างไรภาคเอกชนไทยควรเตรียมความพร้อมอย่างไร

  44. มาตรการรองรับผลกระทบของภาครัฐมาตรการรองรับผลกระทบของภาครัฐ

  45. ขอบคุณ “เรียนรู้ ใส่ใจ ใช้ประโยชน์ AEC” Call Center : 0-2507-7555 www.dtn.go.th

More Related