640 likes | 1.73k Views
การปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกงาน บริษัท แหลมทอง ไฮบริด จำกัด ( ปากช่อง ). นักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ สาขา สัตว ศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สมาชิกฝึกงาน. 1. นายอนุวัตร แก่นจันทร์
E N D
การปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกงานบริษัท แหลมทอง ไฮบริด จำกัด ( ปากช่อง ) นักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ สาขา สัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
สมาชิกฝึกงาน 1. นายอนุวัตร แก่นจันทร์ 2. นายอธิวัฒน์ ขนานแข็ง 3. นายศุภร ศรีจรูญ 4. นางสาวจตุพร พึ่งเพ็ง 5. นางสาววรรณภา พิบูลพงษ์
สาว N แผนผังการจัดการสุกร รุ่น A (2x) B ท้องแรก A ท้อง 2+ รุ่น C (แท้) Eท้อง 2+ D ท้อง 2+ C ท้อง 1+ * C:GGP , D:GP , A,B,E: PS
การทำงานในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้องการทำงานในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้อง
งานประจำวันในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้องงานประจำวันในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้อง 1. เปลี่ยนน้ำยาจุ่มเท้า( เปลี่ยนทุกวันก่อนขึ้นเล้า ) โดยใช้ Biocid - 30 ในอัตราส่วน Biocid-30 25 ซีซี : น้ำ 5 ลิตร 2. การให้อาหาร - ให้เวลา 7.30 น.และ 14.00 น.
ปริมาณการให้อาหารแม่สุกรอุ้มท้องปริมาณการให้อาหารแม่สุกรอุ้มท้อง
3. การทำความสะอาด -เก็บกวาดมูลสุกร - กวาดเศษอาหารบนทางเดิน - ตักอาหารเก่าออกจากรางอาหาร
4. ตรวจเช็คสัดแม่สุกร (เช้า 08.30 น. – เย็น 16.00 น.) - ปล่อยพ่อพันธุ์ตรง ทางเดินหน้าแม่สุกร - ทำการกระตุ้นแม่สุกร โดยการถูบริเวณหลัง สีข้าง ราวนมหรือดึงสวาบ
- พอแม่สุกรนิ่งเมื่อมีพ่อพันธุ์อยู่ด้านหน้า ให้ลองขึ้นขี่ ถ้าแม่สุกรยังนิ่งอยู่ และมีอาการ หูตั้ง หางชี้ และอวัยวะเพศบวมแดง มีน้ำเมือกไหล ให้ถือว่าแม่สุกรตัวนั้นเป็นสัด - ใช้สีสเปรย์พ่นบนตัวแม่สุกรที่เป็นสัดเพื่อเป็นสัญลักษณ์และง่ายต่อการแยกออกมาผสม
ลักษณะภายนอกที่แม่สุกรแสดงออกเมื่อเป็นสัดลักษณะภายนอกที่แม่สุกรแสดงออกเมื่อเป็นสัด - อวัยวะเพศบวมแดง มีเมือกไหล - ไม่กินอาหารกระวนกระวาย - ส่งเสียงร้อง - ใบหูตั้ง หางชี้ - ขึ้นขี่ตัวอื่นหรือยอมให้ตัวอื่นขึ้นขี่ตัวเอง - เมื่อกดหลังแล้วจะยืนนิ่ง
5. การผสมเทียม อุปกรณ์ที่ใช้ในการผสมเทียม - เดือยเทียม - น้ำเชื้อจากศูนย์ผสมเทียมสุกร - ถังน้ำและฟองน้ำสำหรับล้างทำความสะอาดอวัยวะเพศ
ขั้นตอนและวิธีการผสมเทียมขั้นตอนและวิธีการผสมเทียม 1. อาบน้ำและทำความสะอาดแม่สุกร 2. ใช้ฟองน้ำทำความสะอาดอวัยวะเพศและเช็ดให้แห้ง 3. บีบน้ำเชื้อใส่เดือยเทียมให้ทั่วเพื่อเป็นการหล่อลื่น 4. ใช้มือแบะอวัยวะเพศออกแล้วสอดเดือยเทียมทำมุมประมาณ 45 องศา ดันเดือยเข้าแล้วหมุนทวนเข็มนาฬิกา ถ้าตึงมือแล้ว ดึงไม่หลุดก็แสดงว่าเดือยอยู่ตำแหน่งคอมดลูกแล้ว
5. ปล่อยน้ำเชื้อโดยต่อเข้ากับปลายเดือยเทียมแล้วคลายเกลียวออกเล็กน้อย โดยมดลูกของแม่สุกรจะดูดน้ำเชื้อจนกว่าจะหมด (การปล่อยน้ำเชื้อควรใช้เวลาประมาณ 3-5 นาที)*ในการผสมเทียมต้องปล่อยพ่อพันธุ์ให้อยู่ด้านหน้าแม่สุกรถูสีข้าง ถูสวาบหรือกดหลัง และหมุนเดือยออกตามเข็มนาฬิกา
ประเภทของแม่สุกรและช่วงเวลาในการผสม - สุกรสาว แม่สุกรกลับสัด แม่สุกรตกค้าง เมื่อตรวจพบว่า เป็นสัดให้ทำการผสมทันที และผสมครั้งที่ 2 อีก 12 ชม. ต่อมา - สุกรนางเมื่อตรวจพบว่าเป็นสัดให้ทำการผสมหลังจากพบ 12 ชม. และผสมครั้งที่ 2 อีก 12 ชม. ต่อมา - ถ้าแม่สุกรเป็นสัดมากกว่า 7 วันหลังจากหย่านม ให้ทำการ ผสมทันที และครั้งที่ 2 อีก 12 ชม. ต่อมา
6. ตรวจเช็คแม่สุกรที่ป่วย - ซึมไม่กินอาหาร - อาการบาดเจ็บ - ท้องร่วง (ขี้ไหล) - แท้ง
ยาที่ใช้ในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้องยาที่ใช้ในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้อง BETAMOX L.A. INJECTION (Amoxicillin)10 cc. (กล้ามเนื้อ) แก้อาการอักเสบ เป็นยาปฏิชีวนะ PENDISTREP L.A. (Penicillin) 10 cc. (กล้ามเนื้อ)แก้อาการอักเสบ เป็นยาปฏิชีวนะ
VETAGIN ( Analgin ) 10 cc. (กล้ามเนื้อ) บรรเทาอาการปวด และลดไข้ CATOSAL 10 cc.(กล้ามเนื้อ) ช่วยกระตุ้นระบบเมทตาโบลิซึมและบำรุงร่างกาย ใช้ในกรณีที่สุกร ซึม ไม่กินอาหาร
ENROXACIN (Enrofloxacin) 10 cc. (กล้ามเนื้อ) แก้อาการท้องร่วง (ขี้ไหล) PYRAD-VIOLET (GentianViolet) ใช้ภายนอก ทาเพื่อป้องกันเชื้อรา ทำให้แผลแห้งเร็วและตกสะเก็ด
CTC (Chlortetracycline) - ป้องกันการแท้งติดต่อในแม่สุกร - ปริมาณ 7.5 กรัม (600 ppm) - ให้ในเดือนคู่ ก.พ., เม.ย., มิ.ย., ส.ค., ต.ค. และ ธ.ค.
โปรแกรมวัคซีนในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้องโปรแกรมวัคซีนในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้อง
การจัดการทั่วไปในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้องการจัดการทั่วไปในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้อง - พ่นยากำจัดไร ขี้เรือน ทุกเดือน (Wecterm-10 EW) ฉีดพ่นเพื่อกำจัดแมลงและสัตว์รบกวน เช่น เห็บ หมัด ผสมน้ำในอัตรา Wecterm1 ลิตรต่อน้ำ 100 ลิตร - อาบน้ำทำความสะอาดแม่สุกร - ซ่อมท่อประปา คอก - ทำความสะอาดบริเวณรอบๆ เล้า เช่น ดายหญ้า
การจัดการทั่วไปในเล้าคลอดการจัดการทั่วไปในเล้าคลอด เช้า • เปลี่ยนน้ำยาจุ่มเท้า • เปิดม่านบังลม • ให้อาหารแม่สุกร • เก็บกวาดมูลสุกร • ปิดไฟกก • โรยซีโอไลท์ลดความชื้นพื้นคอก • ให้อาหารลูกสุกร • เปิดน้ำหยด • กวาดทางเดิน
การจัดการทั่วไปในเล้าคลอด(ต่อ)การจัดการทั่วไปในเล้าคลอด(ต่อ) • เย็น • ให้อาหารแม่สุกร • ปิดม่านบังลม • เก็บกวาดมูลสุกร • เอากระสอบและกล่องกกลง • เปิดไฟกก • ให้อาหารลูกสุกร • ปิดน้ำหยด
การจัดการเตรียมย้ายแม่สุกรเข้าห้องคลอดการจัดการเตรียมย้ายแม่สุกรเข้าห้องคลอด • ทำความสะอาดพื้นโดยน้ำสะอาดและใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ Biocid-30ฉีดพ่น • การย้ายแม่สุกรเข้าคลอดควรย้ายในช่วงที่มีอากาศเย็นเพื่อป้องกันอาการหอบของแม่สุกร • ตรวจสอบการใช้งานของระบบน้ำหยด • เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมในการทำคลอด ทิงเจอร์ไอโอดีน คีมตัดหาง คีมตัดเบอร์หู • มีการเตรียมไฟกกและกระสอบสำหรับลูกสุกร • เตรียม Zeo lab , Mistral และ Stalosan F ให้พร้อม
การจัดการแม่สุกรในห้องคลอดการจัดการแม่สุกรในห้องคลอด • นำแม่สุกรเข้าห้องคลอดในวันที่ 110 ของการอุ้มท้อง • ฉีด OTC (OXYTETRAEYCLINE) เพื่อป้องกันพยาธิเม็ดเลือดแดงในสุกร • ก่อนแม่สุกรคลอด 1 วัน ฉีดเบตาม๊อก (BETAMOX) เพื่อลดการอักเสบและ เคลียเชื้อในร่างกาย ฉีดแพลนเนต (Planate injection) เพื่อเร่งหรือเหนี่ยวนำให้เกิดการคลอดในสุกรพันธุ์ และสุกรสาว
อาการก่อนคลอดของแม่สุกรอาการก่อนคลอดของแม่สุกร • อวัยวะเพศมีอาการบวมประมาณหนึ่งสัปดาห์ก่อนคลอด • น้ำนมเริ่มหลั่งก่อนคลอดประมาณ 6-8 ชม. • แม่สุกรกระวนกระวาย อยู่ไม่นิ่ง • ระยะเวลาในการคลอดของลูกแต่ละตัวไม่ควรเกิน 30 นาที หากเกินควรล่วงช่วยแม่สุกร
การจัดการต่อลูกสุกรขณะคลอดการจัดการต่อลูกสุกรขณะคลอด • หลังจากลูกสุกรคลอดควรให้กินนมน้ำเหลืองภายใน 10-35 นาที - คลุกลูกตัวสุกรด้วย Mistral หรือ Starosan F - โรยผง Starosan F (ช่วยกำจัดและป้องกันเชื้อแบคทีเรีย จุลินทรีย์)
การจัดการแม่สุกรเมื่อพบว่าแม่สุกรไม่คลอดการจัดการแม่สุกรเมื่อพบว่าแม่สุกรไม่คลอด • ในกรณีที่ถึงกำหนดคลอดแล้วแม่สุกรไม่คลอดลูก ฉีด เบต้าม๊อก (Betamox) ควบคู่กับ อ๊อกซี่โทซิน (Oxytocin) เพื่อกระตุ้นให้แม่สุกรคลอด
การจัดการต่อแม่สุกรเมื่อคลอดการจัดการต่อแม่สุกรเมื่อคลอด • หลังแม่สุกรคลอดเสร็จ 1 วัน ฉีด เบตาม๊อก (BETAMOX) เพื่อลดการอักเสบและ เคลียเชื้อในร่างกาย โดยการฉีดควบคู่กับการฉีด ลูทาไลส์(Lutlyse) เพื่อขับรกที่ตกค้างออก • 1 วันหลังจากฉีดเบตาม๊อก และ ลูทาไลส์ เมื่อแม่สุกรคลอดเสร็จจะ ฉีด เบตาม๊อก ซ้ำอีกครั้ง เพื่อลดการอักเสบและเคลียเชื้อในตัวแม่สุกร
การจัดการลูกสุกรหลังคลอดการจัดการลูกสุกรหลังคลอด ทำคลอดเมื่ออายุครบ 1วัน ตอนเมื่ออายุครบ 3วัน อุปกรณ์การตอน • อุปกรณ์การทำคลอด
การจัดการลูกสุกรหลังคลอด(ต่อ)การจัดการลูกสุกรหลังคลอด(ต่อ) • ทำคลอดลูกสุกรที่อายุครบ 1 วัน โดยการปั้มปากลูกสุกรด้วยBaycox ชั่งน้ำหนัก ฉีดยา Betamox ตัดหาง และตัดเบอร์หู
การตอน • จะตอนลูกสุกรเมื่ออายุครบ 3 วัน • จับลูกสุกรเพศผู้กดให้ลูกอัณฑะออกมา • ใช้มีดกรีดถุงอัณฑะพอประมาณให้เห็นลูกอัณฑะโผล่ออกมา
การตอน(ต่อ) • บีบและดึงลูกอัณฑะออกมาจนหมดจากนั้นพ่นทิงเจอร์บริเวณแผลของลูกสุกร • ฉีด ธาตุเหล็ก เข้าบริเวณกล้ามเนื้อของลูกสุกร
การให้อาหารลูกสุกร • ให้อาหารแบบเลียราง คือ จะให้ช่วงบ่าย โดยเริ่มให้เมื่อลูกสุกรอายุครบ 7 วัน โดยจะเพิ่ม ควิกซาลัด (Quixalud) และ Neofruit
โปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอดโปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอด หลังคลอด 1 สัปดาห์ หลังคลอด 2 สัปดาห์ ฉีด วัคซีน HC เพื่อป้องกันโรค อหิวาสุกร วัคซีน พาร์โวซูอิน (PARVOSUIN) ใช้สำหรับป้องกันโรคพาร์โวไวรัส ที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์
โปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอดโปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอด หลังคลอด 3 สัปดาห์ ใช้เพื่อป้องกันโรคปากเท้าเปื่อย ( FMD )
โปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอด(ต่อ)โปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอด(ต่อ) • ก่อนลูกสุกรอย่านมฉีด AD3E (MULTIVITAMIN INJECTION) เพื่อบำรุงอวัยวะสืบพันธ์และช่วยเร่งกระตุ้นให้เป็นสัดเร็วขึ้น
การคัดลูกสุกร • ชั่งน้ำหนักลูกสุกร เมื่ออายุ 18 วัน • พ่นสีเป็นสัญลักษณ์บนหลังลูกสุกร
การคัดลูกสุกร (ต่อ) • ชั่งน้ำหนักลูกสุกรโดย - ลูกสุกรที่น้ำหนัก 5 กิโลกรัมขึ้นไป จะส่งไปที่วังน้อย และจะใช้สัญลักษณ์ด้วยสีแดง • ลูกสุกรน้ำหนัก ตั้งแต่ 4-4.8 กิโลกรัม จะส่งไปเล้าอนุบาล ใช้สัญลักษณ์สีน้ำเงิน
การคัดลูกสุกร(ต่อ) • ลูกสุกรที่น้ำหนักไม่ถึง 4 กิโลกรัม และ หน้าเป็นแผล ขาบวม จะถูกคัดทิ้งและส่งขายหน้าฟาร์ม ใช้สัญลักษณ์สีม่วง
สรุปตารางผลผลิต ปี ประเภท