280 likes | 616 Views
ประสบการณ์และการขับเคลื่อนนโยบาย การพัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร. นพ.ธวัชชัย กมลธรรม ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข. โอกาสการขับเคลื่อน. นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข โดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นายวิทยา บุรณศิริ)
E N D
ประสบการณ์และการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรประสบการณ์และการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร นพ.ธวัชชัย กมลธรรม ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
โอกาสการขับเคลื่อน นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข โดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นายวิทยา บุรณศิริ) “ ข้อ 10 ส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในระบบบริการสาธารณสุขทุกระดับ ”
กลยุทธ์การขับเคลื่อน • ผู้บริหารทุกระดับให้การสนับสนุน ประกาศเป็นนโยบายชัดเจน • ตั้งเป้าประสงค์ วิสัยทัศน์ ให้ชัดเจน • ทำอย่างเป็นระบบ ทั้งรวบรวมความรู้ การส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพร การวิจัยความรู้ใหม่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาบริการ และบุคลากร • ประเมินผลและปรับปรุงอยู่เสมอ
ทำแล้วได้อะไร? 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ในตลาดโลกพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสู่สากล 1. เพื่อการพึ่งตนเองของประเทศในด้านยาลดดุลการค้าด้านยาจากต่างประเทศ 3. เพื่อกระจายรายได้สร้างงาน สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน จากการพัฒนาภูมิปัญญาของท้องถิ่น 2. เพื่อตอบสนองต่อวิถีชีวิตของคนในสังคม โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายจากสมุนไพร
การขับเคลื่อนในระดับกระทรวงการขับเคลื่อนในระดับกระทรวง “ ข้อ 10 ส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในระบบบริการสาธารณสุขทุกระดับ ” นพ.อภิชัย มงคล รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นพ.ธวัชชัย กมลธรรม ผู้ตรวจราชการกระทรวง นพ.ธวัชชัย กมลธรรม ที่ปรึกษาคณะกรรากรขับเคลื่อนระดับกรม Focal Point ระดับเขต สสจ.ปราจีนบุรี
โครงการขับเคลื่อนระดับกระทรวง 15 โครงการ โครงการรวมพลังการแพทย์แผนไทย 5 ภาค โครงการประชุมวิชาการและสมุนไพรแห่งชาติ ครั้งที่ 9 โครงการสนับสนุนการจัดบริการการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โครงการพัฒนาการปลูกและการเก็บเกี่ยวสมุนไพรให้ได้มาตรฐาน GACP โครงการพัฒนาการผลิตยา และผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรในโรงพยาบาลของรัฐให้ได้มาตรฐาน GMP โครงการอบรมเตรียมความพร้อมผู้ให้บริการเพื่อการสอบขึ้นทะเบียนผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเวชกรรมไทย
โครงการขับเคลื่อนระดับกระทรวงโครงการขับเคลื่อนระดับกระทรวง โครงการอบรมเตรียมความพร้อมนักการแพทย์แผนไทยเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพ โครงการศึกษารูปแบบที่เหมาะสมในการจัดตั้งโรงพยาบาลแพทย์แผนไทย ในกระทรวงสาธารณสุขและมหาวิทยาลัย โครงการจัดตั้งตลาดกลางวัตถุดิบสมุนไพร โครงการจัดตั้งโรงงานกลาง โครงการจัดทำราคากลาง/ราคาอ้างอิงยาสมุนไพร โครงการพัฒนาระบบเบิกจ่ายค่าบริการผู้ป่วยในด้านการแพทย์แผนไทย โครงการติดตามประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาสมุนไพรในสถาบันวิจัยการแพทย์แผนไทย
โครงการขับเคลื่อนระดับกระทรวงโครงการขับเคลื่อนระดับกระทรวง โครงการพัฒนาศักยภาพศูนย์พัฒนายาไทยและสมุนไพร เพื่อรองรับกติกาภายใต้เศรษฐกิจสมาคมอาเซียน (AFTA) โครงการจัดตั้งสวนสมุนไพรเพื่อการอ้างอิงยาสมุนไพรในบัญชียาหลัก
ตัวชี้วัดสำคัญ ระดับกระทรวง - ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและ/หรือการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐานในสถานบริการสาธารณสุขในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 1. โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลชุมชนเขตเมือง มีรายการยาสมุนไพรไม่น้อยกว่า 20 รายการ 2. ผู้บริหารโรงพยาบาลชุมชนได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้การใช้ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ 3. ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลชุมชน มีผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทเวชกรรมไทย/สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ อย่างน้อย 1 คน
ตัวชี้วัดสำคัญ ระดับกรม - มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรในสถานบริการ รพศ.ร้อยละ 1 รพท.ร้อยละ 3 รพช.ร้อยละ 5 รพ.สต.ร้อยละ 10 - ผู้บริหารโรงพยาบาลได้รับการอบรมการใช้ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ ร้อยละ 100 - โรงพยาบาลแพทย์แผนไทยมีการศึกษาวิจัยในมนุษย์อย่างน้อย 2 เรื่อง/ปี - สถานผลิตยาสมุนไพรของรัฐผ่านการรับรองมาตรฐาน GMP อย่างน้อยเขตละ 1 แห่ง - มีการจัดตั้งตลาดกลางวัตถุดิบสมุนไพรที่ได้มาตรฐาน GACP อย่างน้อย 3 แห่ง - การเตรียมการจัดตั้งสถาบันยาแผนไทยแห่งชาติ 1 แห่ง
การขับเคลื่อนนโยบายระดับเขตการขับเคลื่อนนโยบายระดับเขต เพิ่มกรอบยา ผู้บริหารสนใจ อบรมผู้ใช้ มียาเพียงพอ
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก กมลาศรม
ขยายบริการแพทย์แผนไทยใน รพ.สต.
ประสบการณ์การขับเคลื่อนประสบการณ์การขับเคลื่อน โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
นำความรู้มาเผยแพร่ทุกรูปแบบนำความรู้มาเผยแพร่ทุกรูปแบบ
การส่งเสริมการใช้สมุนไพรการส่งเสริมการใช้สมุนไพร หนังสือสมุนไพรบันทึกของแผ่นดิน 1-4 รายการวิทยุ “สุขภาพสู่เศรษฐกิจ” AM819, รายการสุขภาพดีวิถีไทย FM 92.5 และรายการวิทยุ ม.เกษตรศาสตร์ AM1107 รายการโทรทัศน์ ชีวิตชีวา (ช่อง 3) จัดทำ “อภัยภูเบศรสาร” วารสารความรู้สมุนไพรและภูมิ ปัญญาแพทย์แผนไทย จัดสวนสมุนไพรเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ Call Center ตอบปัญหายาและสมุนไพร 037-211289 ส่งเสริมการปลูกสมุนไพร แจกเมล็ดพันธุ์ ศูนย์เรียนรู้นิทรรศการ ฝึกอบรม เสวนาวิชาการ ค่ายเยาวชน ฯลฯ
ส่งเสริมการใช้สมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเองของประชาชน โดย ศูนย์การเรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรภาคประชาชนอภัยภูเบศรสาธิตการนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ทางยา อาหารและเครื่องสำอางอาทิ การทำธูปหลับ ยาดอง อาหารสมุนไพร โดยจัดให้มีทุกวันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ณ ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
วิจัยและพัฒนา...จึงมีวันนี้วิจัยและพัฒนา...จึงมีวันนี้ ได้ริเริ่มทำการศึกษาทางคลินิกขั้นต้นของผลิตภัณฑ์จากเสลดพังพอนตัวเมียในการรักษาโรคเริมและงูสวัด…เป็นครั้งแรกของประเทศไทย ก่อนใช้ พัฒนาเสลดพังพอน ผลิตเป็นกลีเซอรีน ใช้สำหรับรักษาแผล ในช่องปาก หลังใช้
คิดค้นยา เพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุข ยาฆ่าเชื้อจากเปลือกมังคุด ได้รับอนุสิทธิบัตรจากงานวิจัยชิ้นนี้
วิจัยประสิทธิภาพยาไทยเทียบกับยาฝรั่งวิจัยประสิทธิภาพยาไทยเทียบกับยาฝรั่ง แก้ไอทำให้ชุ่มคอ แก้เจ็บคอ วิจัยยาแก้ไอมะขามป้อมชนิดน้ำ งานวิจัยได้ไปนำเสนอที่โปรตุเกส ผลการทดลองพบว่า ได้ผลลดการไอได้ดีเทียบเท่ากับแอมบรอกซอล แต่ยาแก้ไอมะขามป้อมทำให้ชุ่มคอกว่า
ทำวิจัยองค์ความรู้ เพื่อต่อยอดสู่การบริการ ในทฤษฏีการนวดไทยมีช่องทางการเดินของพลังงานคล้ายการแพทย์แผนจีน หากเราพัฒนาต่อยอด....ประสิทธิภาพการนวดไทยคงไม่แพ้การฝังเข็มของจีน
ร้านยาไทยต้นแบบ โพธิ์เงิน-อภัยภูเบศร โอสถ เป็นการตรวจ รักษาทางเวชกรรมไทย และการใช้สมุนไพรเป็นยาตำรับในการรักษาคนไข้จริงอย่างเหมาะสม เพื่อเป็นการฝึกประสบการณ์ในการจ่ายยาตามแนวทางเภสัชกรรมแผนไทย และเป็นแหล่งฝึกงานของนิสิตแพทย์แผนไทย เพื่อให้คำปรึกษาทางด้านการแพทย์แผนไทย เกี่ยวกับแนวทางในการดูแลสุขภาพ ทั้งการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสุขภาพ ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อเป็นการเสริมสร้างทัศนคติของประชาชนต่อแพทย์แผนไทย ให้มีความเข้าใจและมารับการรักษาทางการแพทย์แผนไทยมากขึ้น
วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศรวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร • หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต โดยความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยบูรพา เปิดสอนระดับปริญญาตรีตั้งแต่ปี 2549 บัณฑิตรุ่นแรกจำนวน 36 คน บัณฑิตรุ่นที่สอง 43 คน • หลักสูตรที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการวิชาชีพ ได้แก่ • หลักสูตรผู้ช่วยแพทย์แผนไทย 430 ชั่วโมง • หลักสูตรนวดไทย 800 ชั่วโมง • หลักสูตรที่ผ่านการรับรองจากกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ หลักสูตรนวดเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
สิ่งที่รัฐมนตรีฝากให้อภัยภูเบศรช่วยดำเนินการสิ่งที่รัฐมนตรีฝากให้อภัยภูเบศรช่วยดำเนินการ • จัดตั้งศูนย์อภัยภูเบศร 4 ภาค เป็นต้นแบบการเรียนรู้ • ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิตวัตถุดิบสมุนไพรที่มีมาตรฐาน • เร่งรัดและพัฒนาการแพทย์แผนไทยให้โดดเด่นเทียบชั้นการแพทย์แผนจีน