430 likes | 713 Views
ICN ที่เพื่อนร่วมงานต้องการ (พรง./พรพ.). นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. เพื่อนร่วมงานต้องการ. เพื่อนผู้รู้ใจ เพื่อนคู่คิด เพื่อนที่ รับฟัง เพื่อนที่ให้ความช่วยเหลือ เพื่อนที่ให้กำลังใจ.
E N D
ICN ที่เพื่อนร่วมงานต้องการ (พรง./พรพ.) นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล เพื่อนร่วมงานต้องการ เพื่อนผู้รู้ใจ เพื่อนคู่คิด เพื่อนที่รับฟัง เพื่อนที่ให้ความช่วยเหลือ เพื่อนที่ให้กำลังใจ
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่เพื่อนต้องการคือผู้เป็น “โค้ช”
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล GROW Model สำหรับการเป็นโค้ช
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ความรักต่อเพื่อนร่วมงาน รักเพื่อนอย่างที่เพื่อนเป็น มิใช่อย่างที่เราอยากให้เป็น การแยกแยะ ระหว่างบุคคลกับการกระทำ
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ความรักต่อผู้ป่วย ผู้ป่วยเป็นคน ซึ่งมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี มีศักยภาพ ผู้ป่วยเป็นคนไข้ ที่ต้องการพ้นจากsuffering ผู้ป่วยเป็นครู ที่สอนให้เราเรียนรู้
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่มี Visionary Leadership กล้าฝันว่าโรงพยาบาลของเราจะไม่มีการติดเชื้อ มองเห็นโอกาสในสิ่งที่ดูจะเป็นไปไม่ได้ สามารถหล่อหลอมผู้คนมาร่วมงาน ไม่กลัวต่อความล้มเหลวที่อาจจะเกิดขึ้น
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่มีมุมมองเชิงระบบ เชิงโครงสร้าง มองเห็นจุดอ่อนที่ถูกละเลย เชิงนามธรรม เข้าใจว่ามีแรงจูงใจอะไรในระบบ มองเห็นความเป็นหนึ่งเดียวของระบบ IC และความสัมพันธ์ของส่วนย่อยต่างๆ ที่เป็นเหตุปัจจัยต่อกัน Aspiration Pneumonia มีมากเพียงใด ส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวนเท่าไร มีสาเหตุเกี่ยวพันกับอะไร จุดไหนใน รพ.ที่มีความล่อแหลม แต่ ICN ยังเข้าไม่ถึง
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่มุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงาน ผู้ป่วยแต่ละรายที่ติดเชื้อ สะท้อนถึง defect ของระบบ ซึ่ง ICN มีส่วนรับผิดชอบ ความล่าช้าในการคิดค้นและลงมือป้องกัน คือการเปิดช่องให้ผู้ป่วยอื่นๆ มีโอกาสติดเชื้อต่อไป ทุกคนใน รพ.เป็น internal customer ที่ต้องการความช่วยเหลือ
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่มุ่งเน้นสุขภาวะของผู้ป่วย เมื่อพบผู้ป่วยติดเชื้อจากการดูแลรักษา มิได้สนใจเฉพาะการติดเชื้อเท่านั้น แต่สนใจผลกระทบของการติดเชื้อ และการดูแลที่เป็นองค์รวมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะของผู้ป่วยด้วย
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่ให้คุณค่าต่อเพื่อนร่วมงาน ตอบสนองความต้องการของเพื่อนร่วมงาน เคารพในคุณค่าของเพื่อนร่วมงาน สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของเพื่อนร่วมงาน เสริมพลังให้แก่เพื่อนร่วมงาน จะทำอย่างไรให้การวินิจฉัย HAI เป็นการตัดสินใจร่วมกันระหว่างทีมงานในหอผู้ป่วยกับ ICN ขณะที่ผู้ป่วยยังอยู่ใน รพ. เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ทีมงาน และเป็นประโยชน์ต่อการดูแลผู้ป่วย
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่สร้างทีมสหสาขาวิชาชีพ ทำให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องมีความสุขในการทำงานร่วมกัน ใช้ทุกโอกาสในการดึงผู้เกี่ยวข้องมาร่วมงาน ประสานทุกหน่วยงานเพื่อสร้างสรรค์ในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่สร้างนวตกรรม ฝึกฝนที่จะคิดหาวิธีการใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา ทำอย่างไรให้ hand hygiene ประสบความสำเร็จ ทำอย่างไรให้ decontamination & sterilization มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด จะจัดการกับผ้าที่ปนเปื้อนอย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้เศษวัสดุต่างๆ ติดไปกับผ้าที่ส่งซัก
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่รู้จักเล่นกับข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลทั้งหลายที่มีอยู่ ให้เกิดความเข้าใจสถานการณ์ที่ลึกซึ้ง นำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อการวางแผนและตัดสินใจ กล้าที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการเก็บข้อมูล วันนี้เราใช้ข้อมูลอะไรอยู่บ้าง ข้อมูลเหล่านั้นมีความทันสมัยเพียงใด
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่ขับเคลื่อนการพัฒนา สามารถวิเคราะห์ระบบและกระบวนการที่เกี่ยวข้อง สามารถชักชวนผู้เกี่ยวข้องมาร่วมกันพัฒนา เข้าใจหลักการและวิธีการของการพัฒนา ขับเคลื่อนการพัฒนาไม่หยุดนิ่ง เห็นผลลัพธ์ที่ดีขึ้นเป็นลำดับ
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ กำหนดเป้าหมายการทำงานที่ผลลัพธ์ มีแผนการทำงานที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการกับผลลัพธ์ มีสมดุลระหว่างการมุ่งเน้นกระบวนการกับการมุ่งเน้นผลลัพธ์
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่ใช้ความรู้เป็นฐาน มีแหล่งข้อมูลความรู้ ติดตามความรู้ที่ทันสมัย แปลความหมายอย่างเข้าใจ รู้บริบทของงานวิจัย สื่อสารให้เพื่อนร่วมงานรับทราบ สามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนระบบงาน
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่สร้างกระบวนการเรียนรู้ เรียนรู้จากทุกคน ทุกเหตุการณ์ ทุกโอกาส ชักชวนให้ผู้อื่นมาร่วมเรียนรู้ด้วย รู้จักตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นความอยากรู้และการเรียนรู้
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ICN ที่เสริมพลังผู้อื่น เสริมพลัง ICWN เสริมพลังทีมดูแลผู้ป่วย เสริมพลังทีมงานที่อยู่ข้างหลัง เสริมพลังผู้ป่วยและครอบครัว
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
II – 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ การติดเชื้อ ต่ำที่สุด
II – 4.1ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ Overall Req. ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อขององค์กร ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม, ได้รับการสนับสนุนทรัพยากรเพียงพอ, และมีการประสานงานที่ดี. Multiple Req. ข. การจัดการและทรัพยากร ก. การออกแบบระบบ 1 คณะกรรมการ IC กำกับดูแล กำหนดนโยบาย/าตรการ วางแผน ประสานงาน ติดตามประเมินผล ความรู้ การปฏิบัติ กฎหมาย 3 ICN 2 ครอบคลุม 4 การติดเชื้อ ต่ำที่สุด การดำเนินงาน ป้องกันและควบคุม 1 เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ มาตรการ ประสานกับระบบคุณภาพ บริบท ขนาด บริการ ผู้ป่วย 5 ทรัพยากรเพียงพอ 3 ระบบสารสนเทศสนับสนุน ประสานสู่การปฏิบัติทั้งองค์กร 2 4 6 การติดเชื้อสำคัญจุดเน้นในการป้องกัน ฝึกอบรมบุคลากร 5 เสริมพลังชุมชน 6
II – 4.2 ปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อ Overall Req. องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีกระบวนการที่เหมาะสมสำหรับการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล. Multiple Req. ติดตามประเมินผล Standard Precaution Clean/disinfect/sterilization Infectious waste Hand hygiene กลยุทธ์เพื่อลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อ 1 ออกแบบระบบ อากาศ, โครงสร้างอาคาร, น้ำ, น้ำยาทำลายเชื้อ ควบคุมสิ่งแวดล้อม 2 ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยง OR, LR, ICU, ซักฟอก, จ่ายกลาง, ครัว, กายภาพบำบัด, เก็บศพ การติดเชื้อ ต่ำที่สุด จัดการ 3 SSI, VAP, CAUTI, IV infection, BSI, Sepsis ป้องกันการติดเชื้อสำคัญ 4 ผู้ป่วยที่ติดเชื้อทางเลือด, ภูมิต้านทานต้ำ, เชื้อดื้อยา, การติดเชื้อุบัติใหม่ การดูแลผู้ป่วย ที่มีความซับซ้อน 5 ทรัพยากรสนับสนุน
II – 4.3 การเฝ้าระวัง ติดตามกำกับ และควบคุมการระบาด Overall Req. องค์กรใช้วิธีการที่เหมาะสมในการเฝ้าระวังและติดตามกำกับ เพื่อค้นหาและควบคุมการติดเชื้อ และจัดการกับสถานการณ์ที่มีการระบาดของการติดเชื้อในโรงพยาบาล. Multiple Req. ออกแบบระบบ การจัดการ และทรัพยากร การป้องกันการติดเชื้อ ก. การเฝ้าระวังและติดตามกำกับ ใช้สารสนเทศ วางแผน ให้ความรู้ ปรับปรุงระบบ แก้ปัญหาผู้ปวยเฉพาะราย 4 การติดเชื้อ ต่ำที่สุด Active ongoing prospective surveillance 1 Monitor of other serious HAI 2 ข. การควบคุมการระบาด ติดตามการใช้ยาต้านจุลชีพและความไวของเชื่อ 3 บ่งชี้การระบาด 1 ค้นหาและตอบสนองต่อการอุบัติของเชื้อโรคใหม่และเชื่อโรคดื้อยา 5 2 สืบค้นและควบคุม
การพัฒนาคุณภาพ โดยใช้กลุ่มประชากรทางคลินิกเป็นฐาน Clinical Population Oriented Quality Improvement
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล การพัฒนาคุณภาพทางคลินิกที่ดี ยึดผู้รับผลงานหรือผู้ป่วยเป็นตัวตั้ง มีเป้าหมายที่ชัดเจน มีการติดตามตัวชี้วัดที่เหมาะสม ใช้เครื่องมือและวิธีการพัฒนาคุณภาพที่หลากหลายร่วมกัน
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล กลุ่มประชากรทางคลินิก (Clinical Population) กลุ่มผู้ป่วยหรือกลุ่มบุคคลซึ่งมีสภาพปัญหาสุขภาพคล้ายคลึงกัน สามารถวิเคราะห์ความต้องการได้ชัดเจน สามารถกำหนดเป้าหมายและวัดผลได้ชัดเจน ทำให้สามารถนำ core values เรื่อง patient focus ไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมได้ Clinical Population Oriented เน้นผู้ป่วยที่เป็นทั้ง “คน” “คนไข้” “ครู” มิได้เน้นที่การรักษาโรคเพียงอย่างเดียว แต่พิจารณาความต้องการของผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวม และกระบวนการดูแลผู้ป่วยที่ต่อเนื่องตามความจำเป็น
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จากเครื่องมือ สู่การเน้นกลุ่มผู้ป่วย ใช้กลุ่มผู้ป่วยเป็นตัวตั้ง วิเคราะห์ประเด็นสำคัญ กำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดให้ชัดเจน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามผลสำเร็จของการพัฒนา ใช้เครื่องมือและวิธีการพัฒนาเป็นตัวตั้ง เช่น ตัวชี้วัด, CPG, การทบทวน เป็นการทำแบบแยกส่วน ใช้เครื่องมือคุณภาพเป็นพื้นฐานในการนำเสนอข้อมูล
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จาก Top 5 สู่เกณฑ์คัดเลือกที่หลากหลาย ใช้เกณฑ์ที่หลากหลายในการคัดเลือกกลุ่มผู้ป่วย ซึ่งอาจจะเป็น high volume, high risk, high cost, high variation, high burden, high need for coordination & continuity ใช้เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งในการคัดเลือกกลุ่มผู้ป่วย เช่น top 5 หรือ high volume
Priority Diseases & Quality Dimension สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Competency Efficient Responsive Timeliness Safety Appropriate Effective Holistic/Humanized High Risk Preg DHF Ac. Appendicitis Acute MI COPD DM Hypertension
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จากทำพอรู้ สู่ความครอบคลุม ตั้งคำถามกับตนเองว่าเท่าที่ทำมาแล้วครอบคลุมร้อยละเท่าไรของ bed day ทั้งหมดที่ทีมงานรับผิดชอบ จะทำอย่างไรให้ครอบคลุมได้มากขึ้น โดยใช้ effort น้อยที่สุด เลือกกลุ่มผู้ป่วยมาทำจำนวนน้อย ด้วยเหตุผลว่ามีภาระงานมาก
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล การเลือกกลุ่มประชากรทางคลินิก • อาจจะเริ่มด้วยทีมที่ทำงานร่วมกัน หรือเลือกด้วยสภาวะทางคลินิกก่อนก็ได้ • สภาวะทางคลินิกที่เลือกขึ้นมา ควรเป็นเรื่องที่ทีมมีความเข้าใจดี และมีความสำคัญพอสมควร • เป็นสิ่งที่ทีมทำได้ดี หรือ • เป็นสิ่งที่มีความเสี่ยงสูง หรือ • เป็นสิ่งที่มีโอกาสพัฒนาอีกมาก : ผลลัพธ์ไม่ดี, ต้องประสานกัน, ยืดเยื้อ • เมื่อทำเสร็จแล้ว ให้ถามว่ามีเรื่องอะไรที่สำคัญกว่าเรื่องที่ทำไปแล้วอีกบ้าง เพื่อคัดเลือกเรื่องเหล่านั้นมาทำต่อ ถ้าไม่มีก็เลือกเรื่องที่มีความสำคัญรองลงมา • จำนวนเรื่องเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาความสมดุลของประโยชน์ (ครอบคลุมผู้ป่วยและมุมมองคุณภาพ) กับภาระงาน
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จากการเขียน สู่การใช้เพื่อความเข้าใจ ใช้ one page summary สำหรับประชากรทางคลินิกแต่ละกลุ่ม ซึ่งระบุประเด็นสำคัญทั้งหมดไว้ และสามารถเชื่อมโยงไปสู่เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้ มีเอกสารที่ซ้ำซ้อนจำนวนมาก โดยไม่เข้าใจเป้าหมายและขาดความเชื่อมโยง
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จากวัดง่าย สู่การวัดที่ได้ประโยชน์ วิเคราะห์ประเด็นสำคัญและกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน มองหาตัวชี้วัดที่เหมาะสมที่สุดที่สะท้อนการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ตัวชี้วัดที่ใช้ติดตาม เป็นตัวชี้วัดที่เก็บง่าย หรือเก็บตามๆ กันมา แต่ไม่สอดคล้องกับประเด็นสำคัญของเรื่องนั้น
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จากความคิด สู่การปฏิบัติและเรียนรู้ พยายามนำข้อมูลเท่าที่มีอยู่ หรือทำการสุ่มข้อมูลย้อนหลังในจำนวนที่ไม่เป็นภาระเกินไป นำมาวิเคราะห์เพื่อใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการเก็บข้อมูลและการพัฒนาคุณภาพ นำเสนอแผนการเก็บตัวชี้วัด แต่ไม่มีการนำเสนอข้อมูลตัวชี้วัด
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล บูรณาการกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์สถานการณ์ เพื่อก้าวไปข้างหน้า -ผลลัพธ์ -กระบวนการทำงาน -กระบวนการพัฒนา -ระบบที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาในปัจจุบัน และอนาคต ผลงานในอดีต Clinical CQIs R & D Clinical CQIs R & D Clinical Tracer Disease Management วางแผนและประสานงานทั้งในและนอก รพ. เพื่อการป้องกัน การดูแลต่อเนื่องและผลลัพธ์ที่ดี Case Management การจัดการดูแลผู้ป่วยแต่ละราย ให้เป็นไปตามแผนการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Clinical Tracer Quality Process 1. ตามรอยกระบวนการพัฒนา บริบท ประเด็นสำคัญ Content/Care Process 2. ตามรอยกระบวนการดูแลผู้ป่วย วัตถุประสงค์ Integration 3. ตามรอยระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง Result สิ่งดีๆ ที่มีอยู่ โอกาสพัฒนา ตัวชี้วัด ติดตามผลลัพธ์ การพัฒนาคุณภาพ การดูแลผู้ป่วย กรอบที่จะช่วยให้เกิดการคิดอย่างเชื่อมโยงและเป็นระบบ ใช้ตัวตามรอยทางคลินิก (Clinical Tracer) เพื่อเรียนรู้และพัฒนาทุกองค์ประกอบในระบบงาน
Clinical Tracer: Ac Appendicitis Research Link Prevention Form/CPG/ CareMap Link CQI Link KPI Link Risk Care Process Entry Initial Assessment Consultation Predictive value of US Investigation Delayed/missed diagnosis Patho. Diag. confirmed Use of clinical sign Diagnosis Planning Undetected change Observation Operation Anesthesia OR Transfer Preop Care Anes complication Anesthesia Delayed operation “Door to operation” time Operative Procedure Postanes Care SSI SSI rate Postop care & monitoring D/C plan Follow up
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จะเลือก trace อะไร Acute Appendicitis SSI
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Thai Patient Safety Goals Acute Coronary Syndrome Medical Unstable/ Rapid Response Team HA Patient Identification Operation Safety Communication Failure Maternal & Neonatal Morbidities ACS MU/RRT PI OS CF HAI (VAP, Sepsis) Infusion Pump Clinical Alarm System Drug Reconcile Fall Influenza Surgical Fire Drug Safety HAI (others) IHI JCAHO
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Integrated Improvement Model Patient Focus Holistic Care Multidisc Team Focus on Result รู้ตัวเรา Context ตั้งเป้า Aim Clinical Indicator Management by Fact Measure เฝ้าดู ปรับเปลี่ยน Improve Evidence-based Learn from Our AE/RCA Learn from Others -Knowledge Sharing -Benchmarking Innovation, Human Factor R & D ดัดแปลงจาก IHI Improvement Model
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล กลยุทธ์การเปลี่ยนแปลง • ขจัดความสูญเปล่า Eliminate Waste • ปรับปรุงการไหลเวียนของงาน Improve Work Flow • จัดให้มีวัสดุคงคลังในระดับที่เหมาะสม Optimize Inventory • เปลี่ยนสิ่งแวดล้อมในการทำงาน Change the Work Environment • สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้กับผู้รับบริการ Producer/Customer Interface • บริหารเวลา Manage Time • มุ่งลดความแปรปรวน Focus on Variation • ป้องกันความผิดพลั้งError Proofing • มุ่งเน้นที่ผลผลิตหรือบริการ Focus on the Product or Service IHI Change Strategies