940 likes | 1.3k Views
การขับเคลื่อนสถาบันการอาชีวศึกษา ให้สอดรับกับนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. ไพฑูรย์ นันตะสุคนธ์ หัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์. การเตรียมความพร้อมเปิดสอนปริญญาตรีในสถาบัน.
E N D
การขับเคลื่อนสถาบันการอาชีวศึกษาการขับเคลื่อนสถาบันการอาชีวศึกษา ให้สอดรับกับนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไพฑูรย์ นันตะสุคนธ์ หัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์
การเตรียมความพร้อมเปิดสอนปริญญาตรีในสถาบัน 1. เป้าหมายผู้สำเร็จการศึกษาต้องมีอัตลักษณ์ ที่ชัดเจน : นักปฏิบัติการวิชาชีพที่มีความรู้และทักษะ ในการบริหารจัดการวิชาชีพนั้น ๆ ภายใต้หลักการเรียนการสอน 2. ระบบหลักสูตร : 3-2-2 3. หลักสูตร : Competency Base ด้วยหลักการ TAILOR MADE 4. ห้องเรียน/SHOP : Basic, + Basic+Software, + Advance 5. แหล่งการเรียนการสอน : - สถานศึกษา (สถานประกอบการในสถานศึกษา) - สถานศึกษาในสถานประกอบการ - สถานศึกษาในชุมชน (Social Shop)
การเตรียมความพร้อมเปิดสอนปริญญาตรีในสถาบัน 6. การเรียนการสอน : จัดระบบทวิภาคีเป็นหลัก 7. ผู้สอน : ผู้สอนมืออาชีพ มืออาชีพเป็นผู้สอน 8. การบริหารจัดการ : กระจายอำนาจรูปสถาบัน 9. มาตรฐาน : กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพมาตรฐานอาชีวศึกษาคือมาตรฐานที่สถานประกอบการที่ได้มาตรฐานต้องการ 10. กลุ่มทักษะชีวิตเน้น : - ชีวอนามัย เศรษฐศาสตร์การลงทุน - ความปลอดภัย เศรษฐกิจพอเพียง - การควบคุมคุณภาพ อาเซียน
กรอบการทำงานด้านหลักสูตรในสถาบันกรอบการทำงานด้านหลักสูตรในสถาบัน
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนอาชีวศึกษายุทธศาสตร์การขับเคลื่อนอาชีวศึกษา การจัดการอาชีวศึกษาในสถาบัน หลักสูตร : - กรอบคุณวุฒิการศึกษา วิชาชีพ (คอศ.1) - หลักสูตรปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือ สายปฏิบัติการ บุคลากร : - อาจารย์ผู้รับผิดชอบ - อาจารย์ประจำ - อาจารย์พิเศษ - ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ - ครูฝึกในสถานประกอบการ ส่วนสนับสนุน : - เครื่องมือ/ครุภัณฑ์ - สื่อ ใบช่วยสอน - เครือข่ายความร่วมมือ - สถานประกอบการ การพัฒนาศักยภาพต้องสอดรับกับ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานแนวปฏิบัติในการดำเนินงาน 1 กำหนดสาขาวิชาและสถานประกอบการ • นำกลุ่มรายวิชาไปจัดแผนการเรียนในรูปแบบ • การศึกษาทวิภาคีตามเงื่อนไขความร่วมมือ 2 ร่วมกันกำหนดขอบข่ายการทำงานตามสาขาวิชา 3 จัดกลุ่มรายวิชาตามขอบข่ายการทำงาน • ฝึกอาชีพในสถานประกอบการตามแผนการ • ฝึกอาชีพ
แนวทางการกำหนดรายวิชาแนวทางการกำหนดรายวิชา 1. ร่วมกับสถานประกอบการสำรวจความต้องการ 2. กำหนดลักษณะงานเฉพาะทางสำหรับหลักสูตร ปริญญาตรีที่จะจัดการศึกษาด้วยการฝึกอาชีพ ชื่องาน คือ ชื่อของงานที่เราเรียกกันอยู่โดยทั่วไป ซึ่งเป็นสิ่งที่จะบอกถึงลักษณะเฉพาะทาง ชื่อเหล่านี้จะมีให้เห็นอยู่ในโลกอาชีพทั่วไป เช่น - งานพ่อครัวในโรงแรม - งานเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ - งานควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า
3. หาข้อมูลเพื่อตัดสินใจเลือกลักษณะงาน 1) งานนี้ต้องสามารถฝึกอาชีพหรือสามารถเรียน ในระบบได้ 2) อำนาจตามกฎหมายที่จะจัดฝึกอบรมคนเข้าสู่ อาชีพ 3) มีข้อมูลที่เชื่อถือได้เกี่ยวกับการจ้างงาน 4) มีข้อมูลบ่งชี้ว่ามีผู้ต้องการสมัครเข้าฝึกอาชีพ 5) มีครูฝึกอาชีพที่มีคุณสมบัติและความชำนาญ เพียงพอต่อการจัด 6) มีครุภัณฑ์เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์เพียงพอที่จะ เปิดสอน
การจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคีการจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี ฝึกอาชีพใน สถานประกอบการ กำหนด กลุ่มงาน วางแผนจัด แผนการเรียน ร่วมกับ สถานประกอบการ กำหนด สมรรถนะ ร่วมกับ สถานประกอบการ วางแผน การประเมิน ร่วมกัน กำหนด มาตรฐาน ผู้เรียน จัดทำ แผนการฝึกอาชีพ
การจัดกลุ่มอาชีพเพื่อการศึกษาระบบทวิภาคีการจัดกลุ่มอาชีพเพื่อการศึกษาระบบทวิภาคี กลุ่มวิชา :กลุ่มงาน กลุ่มวิชา :กลุ่มงาน กลุ่มวิชา :กลุ่มงาน กลุ่มวิชา :กลุ่มงาน 1. ศึกษาแนวทางการจัดการศึกษา ระบบทวิภาคี 2. กำหนดสถานประกอบการ 3. วิเคราะห์ลักษณะงานใน สถานประกอบการ 4. กำหนดรายวิชากับลักษณะงาน 5. จัดทำแผนการฝึกอาชีพร่วมกับ สถานประกอบการ 6. ดำเนินการฝึกอาชีพ 7. จัดสอนหรือฝึกเพิ่มเติมในส่วน ที่ยังไม่สมบูรณ์ 8. วางแผนการประเมินผลร่วมกับ ครูฝึกในสถานประกอบการ ฝึกอาชีพใน สถานประกอบการ ฝึกอาชีพใน สถานประกอบการ
โครงสร้างหลักสูตรปริญญาตรี กรณีเน้นทวิภาคี 1 ปีการศึกษา หรือ 2 ภาคเรียน • หมวดวิชาทักษะชีวิต 15 นก. • หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ51 นก. • 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (15) • 2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (ทวิภาคี) (15) • 2.4 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (15) • 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (6) • หมวดวิชาเลือกเสรี 6 นก. • รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 72 นก.
โครงสร้างหลักสูตรปริญญาตรี กรณีเน้นทวิภาคี 1 ปี ครึ่ง หรือ 3 ภาคเรียน • หมวดวิชาทักษะชีวิต 15 นก. • หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ51 นก. • 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (ทวิภาคี) (30) • 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (15) • 2.3 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (6) • หมวดวิชาเลือกเสรี 6 นก. • รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 72 นก.
1) จัดรายการอาหาร 2) จัดเตรียมและปรุงอาหารในโรงแรม 3) กำหนดรายการอาหารประจำวันจากจำนวนผู้บริโภค 4) คิดอาหารชนิดพิเศษและวิธีการปรุง 5) จัดซื้ออาหารและอุปกรณ์ในครัวตามความจำเป็น 6) ตรวจสอบคุณภาพของอาหาร 7) ควบคุมผู้ปรุงอาหารและคนงานในครัว รายวิชา รายวิชา รายวิชา รายวิชา มาตรฐานวิชาชีพ พ่อครัว/แม่ครัว แผนการฝึกอาชีพ
แผนการเรียนทวิภาคี ปริญญาตรีอย่างน้อยครึ่งหลักสูตร จะจัดอย่างไร รายวิชา รายวิชา รายวิชา รายวิชา ภาคเรียนที่ 3 ภาคเรียนที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 แผนการฝึกอาชีพ แผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ
วิเคราะห์ลักษณะงานกับลักษณะรายวิชาวิเคราะห์ลักษณะงานกับลักษณะรายวิชา มากำหนดเป็นแผนการฝึกอาชีพสาขาวิชา
องค์ประกอบของแผนการฝึกอาชีพองค์ประกอบของแผนการฝึกอาชีพ • ขื่อสถานประกอบการ • ชื่อสถานศึกษา • ชื่อ ตำแหน่งของครูฝึก • ชื่อนักศึกษาผู้ฝึกอาชีพ • สาขาวิชา ระดับชั้นปี ที่ฝึกอาชีพ • สมรรถนะ คำอธิบายขอบข่ายงานที่นักศึกษาต้องฝึกอาชีพ • ระยะเวลาการฝึกอาชีพในแต่ละสัปดาห์/เดือน ในแต่ละภาคเรียน • แผนกหรือสถานที่ฝึกอาชีพ ในสถานประกอบการ
แผนการฝึกอาชีพ ชื่อสถานประกอบการ ผู้รับผิดชอบการฝึกอาชีพ ตำแหน่ง ชื่อนักศึกษา สาขาวิชา สถานศึกษา เรื่องที่ สมรรถนะ(วิชา) / ขอบข่ายงาน แผนก ระยะเวลา
แผนการฝึกอาชีพ วิชา หัวข้อเรื่อง เนื้อหาความรู้/ทักษะ ระยะเวลาฝึก ครูฝึก ........ 1. ……… 1. …………………… …. สัปดาห์ 2. …………………… …. สัปดาห์ 3. …………………… …. สัปดาห์ 4. …………………… …. สัปดาห์ 5. …………………… …. สัปดาห์ 2. ……… 6. …………………… …. สัปดาห์ 7. …………………... …. สัปดาห์ 8. …………………… …. สัปดาห์ รวม 18 สัปดาห์
ผู้ใช้ร่วมคิด ผู้ผลิตร่วมสร้าง ร่วมรับผิดชอบ • ลักษณะงาน • Job • Job • Job • ความรู้ขั้นต่ำที่ใช้ • ฝึกเพื่อพัฒนางาน • จำนวนที่ต้องการ ฝึกอาชีพใน สถาน ประกอบการ ตามแผน การฝึกอาชีพ สถานประกอบการ สำเร็จ การศึกษา โดยเรียนรู้ 2 สถานที่ มีตำแหน่งงาน และทำงาน ได้ทันที ตามความ ต้องการ ของสถาน ประกอบการ • ทำความร่วมมือ • ให้ผู้เรียนมี 5 ได้ • ได้เรียน • ได้งาน • ได้เงิน • ได้วุฒิ • ได้โอกาสก้าวหน้า ประเมินสมรรถนะ ประเมินผลการเรียน ร่วมกัน วิเคราะห์ • ร่วมกันจัดทำ • แผนการฝึกอาชีพ • เติมเต็มสมรรถนะ • ตามมาตรฐานการ • ศึกษาวิชาชีพ จัดการศึกษา และเติมเต็ม ตามแผนการเรียน สถานศึกษา หรือสถาบัน
กระบวนการตรายางหลักสูตรสถาบันกระบวนการตรายางหลักสูตรสถาบัน เป็นหลักสูตรที่ได้รับการเห็นชอบจากสภาสถาบันแล้ว ในการประชุมสภาสถาบันการอาชีวศึกษาภาค.......... เมื่อวันที่..... เดือน............... พ.ศ. ..... ลงชื่อ.................นายกสภาสถาบัน (ประทับตรา) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษารับทราบการเห็นชอบหลักสูตร โดยคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการประชุมเมื่อวันที่.................... ลงชื่อ.................ประธาน กอศ. (ประทับตรา) สอศ. นำเข้าสู่กระบวนการรับรองคุณวุฒิจาก ก.พ.
นำเสนอเอกสารหลักสูตร 50 ชุด • สถาบันนำแบบเสนอหลักสูตรการอาชีวศึกษา (คอศ.2) จำนวน 50 ชุด พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูล แบบรายงานข้อมูลหลักสูตร (คอศ.3) และแบบเทียบหลักสูตรเพื่อคุณภาพการศึกษา (คอศ.4) • แนบสำเนามติสภาสถาบันที่เห็นชอบหลักสูตร • หากมีเอกสารที่ใช้ประกอบหลักสูตรหรือที่อ้างถึง ให้จัดทำเป็นเอกสารภาคผนวกแนบท้าย คอศ.2
การเตรียมความพร้อม ในการจัดการเรียนการสอนด้วยการจัดทำ ประมวลการสอนรายวิชา ในสถาบันการอาชีวศึกษา
ประเด็นนำเสนอ กลยุทธ์การสอนอาชีวศึกษา 1 แนวทางการวิเคราะห์เนื้อหาเป็นหน่วยการเรียน 2 นำหน่วยการเรียนมากำหนดรายการสอน 3 นำรายการสอนมากำหนดเป็นสมรรถนะ 4 วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5 กำหนดสื่อและแหล่งการเรียนรู้ 6 การวัดและประเมินผล 7
1)กลยุทธ์การสอนอาชีวศึกษา1)กลยุทธ์การสอนอาชีวศึกษา • การเรียนรู้จากการทำงานจริงในระบบทวิภาคี • การเรียนรู้จากกรณีปัญหา (Problem Based Learningหรือ PBL) • (3) การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทั้งเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มโดยให้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาค้นคว้า • (4) การเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองมีการใช้สื่อและเทคโนโลยี หรือนวัตกรรม • (5) การประเมินผลการเรียนรู้จะใช้หลัก 3 เปลี่ยน คือ - จากข้อสอบความลับ เป็นเปิดเผย • - จากสอบเป็นคน ๆ เป็นสอบเป็นทีม • - จากสอบถูก-ผิด เป็นสอบความคิด
ทำไมสถาบันการอาชีวศึกษาต้องร่วมมือกับทำไมสถาบันการอาชีวศึกษาต้องร่วมมือกับ สถานประกอบการในการจัดการศึกษา • โลกของการแข่งขัน • นักศึกษาได้รับประโยชน์สูงสุด เป็นบัณฑิตที่มีศักยภาพในการทำงาน • ลดช่องว่างระหว่างโลกของอาชีพกับโลกของการศึกษา • ก่อให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการ • การมีส่วนร่วมในการผลิตบัณฑิต • มีการปรับปรุงหลักสูตรตลอดเวลา
21st Century Student Outcomes and Support System ที่มา: Partnership for 21st century skill http://www.21stcenturyskills.org/documents/p21_framework_definitions_052909.pdf
21st Century Student Outcomes and Support Systemผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียนในศตวรรษที่ 21เครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (P21 : Partnership for 21st Century Skill) ประกอบด้วยหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ขับเคลื่อนแนวคิดข้างต้นในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี 2002 ได้พัฒนาวิสัยทัศน์เพื่อความสำเร็จของนักเรียนในระบบเศรษฐกิจโลกใหม่ เพื่อช่วยให้ผู้ปฏิบัติบูรณาการทักษะเข้าในการสอนเนื้อหาหลักด้านวิชาการ โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชำนาญการและความรู้เท่าทันต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้ประสบความสำเร็จทั้งในด้านการทำงานและการดำเนินชีวิต กรอบแนวคิดข้างต้นเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาทักษะแห่งอนาคตใหม่สำหรับประเทศไทย
1. สาระวิชาหลักและทักษะเพื่อการดำรงชีวิต • การรอบรู้สาระวิชาหลัก ไม่เพียงพอสำหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในศตวรรษที่ 21 ต้องมีการสอดแทรก ทักษะเพื่อการดำรงชีวิต ต่อไปนี้ • - ความรู้เรื่องโลก (Global Awareness) • - ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy) • - ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองดี (Civic Literacy) • - ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) • - ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy)
2. ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม • ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรมนี้จะเป็นตัว กำหนดความพร้อมของผู้เรียนในการเข้าสู่การทำงานซึ่งมีความซับซ้อนเพิ่มขึ้นในโลกปัจจุบัน ทักษะนี้ ได้แก่ • - ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) • - ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) • - การสื่อสารและความร่วมมือ (Communication and Collaboration)
3. ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี • การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้านเทคโนโลยีการศึกษาและความสามารถในการเชื่อมโยงกัน และการมีส่วนร่วม พลเมืองและแรงงานที่มีประสิทธิภาพต้องสามารถแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและปฏิบัติงานได้หลายหลาย เช่น • - ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy) • - ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy) • - ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Communications and Technology, Literacy)
4.ทักษะชีวิตและอาชีพ • ในยุคข้อมูลข่าวสารและการดำรงชีวิตที่มีความซับซ้อนให้ประสบความสำเร็จได้นั้น จำเป็นต้องใส่ใจพัฒนาทักษะชีวิตต่อไปนี้ให้เพียงพอ • - ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว (Flexibility and Adaptability) • - การริเริ่มการกำกับดูแลตนเองได้ (Initiative and Self-Direction) • - ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม (Social and Cross-Direction) • - การมีผลงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได้ (Productivity and Accountability) • - ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Leadership and Responsibility)
ความคาดหวังของตลาดแรงงานสำหรับบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 • มีความรู้ ความสามารถ เพียงพอปฏิบัติงานได้ทันที • แต่ภาคการศึกษาขยับตัวช้า ขาดการเชื่อมโยงกับ • ภาคธุรกิจภาคอุตสาหกรรม ทำให้บัณฑิตที่จบการศึกษาแล้วต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ และ เรียนรู้เพิ่มขึ้นในช่วงก่อนการปฏิบัติงาน • (2) ความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นคุณสมบัติที่ต้องมี • (3) ใฝ่รู้ สู้งาน ประสานสัมพันธ์มุ่งมั่นประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน รวมถึงการมีอิสระทางการคิด • (4) มีจิตวิจัยคือรู้และรักที่จะค้นหาความรู้ใหม่ ๆ เพราะอนาคตตลาดแรงงานจะเปิดกว้าง ถ้าแข่งขันไม่ได้ตำแหน่งงานที่ดีจะเป็นของคนต่างชาติ
ต้องรู้อะไร ? ก่อนทำประมวลการสอน 1. รู้เนื้อหาวิชาที่จะสอนอย่างชัดเจน - หลักสูตร (สมรรถนะและเนื้อหารายวิชา,เวลา) - ความสัมพันธ์กับรายวิชาอื่น - ประสบการณ์เดิมของผู้สอนและผู้เรียน - เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา 11/09/57 N. PAITOON
2. รู้กระบวนการเรียนรู้ของคน - วิธีการจัดการเรียนการสอน - สื่อ อุปกรณ์การสอนและแหล่งการเรียนรู้ 3. เครื่องมือ / อุปกรณ์ / สิ่งอำนวยความสะดวกอื่น - สื่อและเครื่องมือต่าง ๆ - เอกสารประกอบการค้นคว้า / อ้างอิง 11/09/57 N. PAITOON
ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ 1. แผนการสอนอย่างหยาบ หรือ การจัดทำโครงการสอน หรือประมวลการสอน 2. แผนการสอนย่อย จัดเป็นแบบ Micro Plan นิยม ยึดถือเนื้อหาวิชามากกว่าคาบการสอนโดยแบ่ง เนื้อหาออกเป็นหน่วย ๆ เรียกว่า แผนการจัดการ เรียนรู้แบบหน่วย 11/09/57 N. PAITOON
การเตรียมความพร้อมก่อนสอนการเตรียมความพร้อมก่อนสอน ก่อนที่จะลงมือเขียนแผนการสอน ครูจำเป็นต้องศึกษา จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา คำอธิบายรายวิชา ตำรา เอกสารและสื่อการสอนที่เกี่ยวข้องล่วงหน้าอย่างละเอียด 1.1 พิจารณาความสัมพันธ์ 1.5 จุดประสงค์สาขาวิชา กับรายวิชาอื่น 1.6 สมรรถนะรายวิชา 1.2 รหัสวิชา 1.7 คำอธิบายรายวิชา 1.3 ชื่อวิชา 1.4 หน่วยกิต เวลาเรียนทฤษฏี-ปฏิบัติ/สัปดาห์/ภาค
2) การวิเคราะห์เนื้อหาเป็นหน่วยการเรียน เป็นการนำเอาคำอธิบายรายวิชาจากหลักสูตรมาแบ่งเป็นเรื่องย่อย ๆ หรือหน่วยย่อย ๆ ตามสมควร การแบ่งเนื้อหาวิชานี้พยายามแบ่งให้แต่ละตอนไล่เลี่ยกัน อาจจะมีการสลับหัวข้อเสียใหม่บ้างก็ได้เพื่อให้มีความต่อเนื่องกัน หรือเห็นว่าเนื้อหาตอนใดควรต่อเติมก็ย่อมทำได้ ข้อสำคัญก็คือไม่ควรมีการตัดทอนเนื้อหาของหลักสูตรให้น้อยลง แล้วจึงนำมาจัดเรียงตามลำดับ 11/09/57 N. PAITOON
ขั้นตอนการวิเคราะห์เนื้อหาขั้นตอนการวิเคราะห์เนื้อหา 1.1) ศึกษาและวิเคราะห์คำอธิบายรายวิชา 1.2) กระจายคำอธิบายออกเป็นเนื้อหาหัวข้อใหญ่ ๆ 1.3) รวมกลุ่มเนื้อหาที่มีความหมายในทางเดียวกัน ไว้ด้วยกัน 1.4) ศึกษาความเป็นไปได้ของกลุ่มเนื้อหาทุกกลุ่ม 1.5) กำหนดชื่อหน่วยการเรียนที่เป็นตัวแทนเนื้อหา 1.6) เรียงหน่วยการเรียนตามหลักการจัดลำดับเนื้อหา 11/09/57 N. PAITOON
กำหนดหน่วยการเรียน ที่ ชื่อหน่วย สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ • การจัดทำงบการเงิน 1-2 1-8 • ………………………… 3 9-12 • …………………………. 4-6 13-24 สอบกลางภาค 9 33-36 สอบปลายภาค 18 69-72
ประมวลการสอนรายวิชา ที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน สมรรถนะ สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ • การจัดทำงบการเงิน 1-2 1-8 11/09/57 N. PAITOON
3) รายการสอน เป็นลักษณะการแบ่งหน่วยการเรียนหนึ่ง ๆ ออกเป็นหัวข้อเรื่องต่าง ๆ ที่จะสอนตามความเหมาะสม และตามลำดับการเรียนรู้ของเนื้อหา 11/09/57 N. PAITOON
1. หัวข้อใหญ่ 1.1 หัวข้อรอง 1.1.1 หัวข้อย่อย 1.1.2........................................................ 1.2.................................................................. 1.3.................................................................. 2. หัวข้อใหญ่ 2.1.................................................................. หน่วยที่..................... ชื่อหน่วย.............................................. 11/09/57 N. PAITOON
โครงสร้างการเรียนรู้ ความหมาย 1 ความสำคัญ ประโยชน์ 2 ทฤษฎี หลักการ 3 วิธีการ ขั้นตอน 4 กระบวนการทำงาน 5 การนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ 6 กิจนิสัย คุณธรรม 7
ประมวลการสอนรายวิชา ที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน สมรรถนะ สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ • 1 การจัดทำงบการเงิน 1-2 1-8 • 1.หลักการจัดทำงบ • การเงิน • 2. งบกำไรขาดทุน • 3. งบดุล • 3.1……… • 3.2……… • ................... 3 9-12 11/09/57 N. PAITOON
4) การกำหนดสมรรถนะ วิเคราะห์รายการสอน ประจำหน่วยการเรียนรู้ เป็นผลลัพธ์การเรียนรู้ นำผลลัพธ์การเรียนรู้ ในแต่ละรายการสอน มาเขียนในรูปสมรรถนะ
เขียนผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นรูปสมรรถนะเขียนผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นรูปสมรรถนะ 11/09/57 N. PAITOON
สมรรถนะ ( Competence ) ในบริบทของมาตรฐานอาชีพ มาตรฐานวิชาชีพ และมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพซึ่งใช้กับคนนั้น จะใช้ ศัพท์ของคำ Competence ว่า “สมรรถนะ” คือ ความสามารถในการปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ที่บูรณาการกันอย่างแนบแน่นเพื่อให้เกิด ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ 11/09/57 N. PAITOON
2. สมรรถนะทางปัญญา ( Cognitive Competence ) เป็นสมรรถนะของการคิด โดยใช้ทักษะทางปัญญา หรือ ทักษะการคิด เช่น การแก้ปัญหา การใช้เหตุผล การ ถ่ายทอดและการเรียนรู้ สมรรถนะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1. สมรรถนะการปฏิบัติงาน ( Practical Competence ) เป็นทักษะการเคลื่อนไหวของร่างกายเป็นหลัก เช่น การผลิต การประกอบ การซ่อม การสร้าง การบริหาร ฯลฯ 11/09/57 N. PAITOON
การเขียนข้อความแสดงสมรรถนะการเขียนข้อความแสดงสมรรถนะ ข้อความที่เขียนจะต้องอยู่ในรูป กริยา – กรรม – เงื่อนไข ซึ่งถือเป็นหลักสำคัญการเขียน เช่น “ใช้ ภาษาอังกฤษในการทักทายและแนะนำตัว ” “จัดแสดงสินค้าตามหลักการโฆษณา” “บันทึกรายการ ในสมุดรายวัน ตามหลักบัญชีชั้นต้น” “ตกแต่ง ชิ้นงาน และจัดส่งมอบตามกำหนดเวลา” “ถอด ประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ ตามคู่มือ” “คำนวณ หาค่าร้อยละ ตามหลักวิธีการ” “คำนวณ หาค่าต่าง ๆ ในงานเชื่อมโลหะและงานทางกล”
การเขียนข้อความแสดงสมรรถนะการเขียนข้อความแสดงสมรรถนะ “ถอดเปลี่ยนเพลาขับของเครื่องยนต์ขับเคลื่อนสี่ล้อ” “เชื่อมชิ้นงานโลหะแบบต่อชนท่าข้ามศีรษะ” “บัดกรีชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บนแผ่นวงจรพิมพ์” “แสดง ความรู้ เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล” “ใช้ หลักอุปสงค์อุปทาน เพื่อการตัดสินใจ” “ซ่อม มอเตอร์ไฟฟ้า ตามหลักวิธีการ” “ตรวจสอบ เกลียว ด้วยเกจวัดเกลียว” “เลือกใช้ เครื่องมือและวัสดุ ในการทำเกลียวในแบบทะลุ” “ประกอบ ทดสอบ วงจรและอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้น” “กำหนด มาตรฐานคุณภาพและผลผลิต ในองค์กร”