530 likes | 852 Views
การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพ. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๐
E N D
การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕๓/๑ ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และ ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ในจังหวัด พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๖ ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการนั้น โดยจัดทำเป็นแผนสี่ปี ... ในแต่ละปีงบประมาณ ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยให้ระบุ ... พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑
ปฏิทินการจัดทำแผนสาธารณสุข ปี 2554สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี www.udo.moph.go.th
การวาง ยุทธศาสตร์ การนำ ยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ การควบคุม เชิง ยุทธศาสตร์ กำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ทบทวนสถานการณ์เพื่อการปรับแต่งยุทธศาสตร์ • แผนปฏิบัติการ • การปรับแต่ง • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • คน วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ Strategy Map กระบวนการบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์
กระบวนการในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ กระบวนการในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ภัยคุกคาม (SWOT) การกำหนดทิศทางของหน่วยงาน วิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission) การวิเคราะห์ถึงประเด็นสำคัญที่จะต้องมุ่งเน้น / ให้ความสำคัญเพื่อที่จะบรรลุวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) การกำหนดเป้าประสงค์สำหรับแต่ละประเด็น เป้าประสงค์ (Goals) การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของแต่ละเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) และ เป้าหมาย (Target) การกำหนดกลยุทธ์หรือสิ่งที่จะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ กลยุทธ์ (Strategies)
แบบฟอร์มแผนยุทธศาสตร์แบบฟอร์มแผนยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10(พ.ศ. 2550 - 2554) วิสัยทัศน์ประเทศไทย มุ่งพัฒนาสู่ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน (Green and Happiness Society)คนไทยมีคุณธรรมนำความรอบรู้ รู้เท่าทันโลกครอบครัวอบอุ่นชุมชนเข้มแข็งสังคมสันติสุขเศรษฐกิจมีคุณภาพเสถียรภาพ และเป็นธรรมสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพและทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยู่ภายใต้ระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาลดำรงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และอยู่ในประชาคมโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี”
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและ การเรียนรู้ ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและคุณภาพสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ
แผนพัฒนาสุขภาพฉบับที่ 10The Tenth Natinal Health Plan ระบบสุขภาพไทย มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง เพื่อสร้างให้ สุขภาพดี บริการดี สังคมดี ชีวิตมีความสุขพอเพียงอย่างยั่งยืน Vision:
ประเด็นยุทธศาสตร์ ในแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ ๑๐ 1. สร้างระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่มีความสุขใจทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ 2. สร้างวัฒนธรรมสุขภาพพอเพียงเพื่อสังคมแห่งสุขภาวะ 3. สร้างภูมิคุ้มกันและลดผลกระทบจากภัยคุกคามต่างๆ 4. สร้างทางเลือกสุขภาพที่หลากหลาย ผสมผสานภูมิปัญญาไทยและสากลอย่างรู้เท่าทัน 5. สร้างระบบสุขภาพฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้ 6. สร้างเอกภาพและธรรมภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ
“ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” คำตอบอยู่ที่ความเข้มแข็งของชุมชน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 2553-2554 วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วนเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคี ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ประชาชน มีความรู้และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการ มีส่วนร่วมเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพ ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ ภาคี พหุภาคีมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ เครือข่ายธุรกิจบริการสุขภาพมีส่วนร่วมจัดบริการ รพ.สต.มีคุณภาพ มาตรฐาน กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ระบบบริการมีคุณภาพ มาตรฐาน มีงานวิจัยและนวตกรรมด้านสุขภาพ รากฐาน ระบบข้อมูลข่าวสารมีคุภาพ มาตรฐาน บุคลากรมีสมรรถนะ บุคลากรมีขวัญกำลังใจ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 2553-2554 วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วนเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคี ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี • เสริมสร้างให้ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการ มีความรู้และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น • แผนชุมชนใช้กระบวนการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • ส่งเสริมการดำเนินงานแพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีส่วนร่วมเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพ ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ • พัฒนาระบบการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ • พัฒนาระบบบริหารจัดการหลักประกันสุขภาพ ภาคี พหุภาคีมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ เครือข่ายธุรกิจบริการสุขภาพมีส่วนร่วมจัดบริการ • เสริมสร้างกลไกการมีส่วนร่วมของพหุภาคีในการจัดการสุขภาพ • พัฒนาสถานบริการธุรกิจบริการสุขภาพให้ได้มาตรฐาน รพ.สต.มีคุณภาพ มาตรฐาน กระบวนการ ระบบบริการมีคุณภาพ มาตรฐาน • เร่งรัดการพ้ฒนา รพ.สต.แบบบูรณาการจากทุกภาคส่วน • สนับสนุนการดำเนินงาน รพ.สต. ทุกองค์ประกอบอย่างครบถ้วน บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล • พัฒนาระบบบริการตามมาตรฐานHA&HPH • พัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษาในหน่วยบริการ มีงานวิจัยและนวตกรรมด้านสุขภาพ • ส่งเสริมการพัฒนาบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล • พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) • ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและการพัฒนานวตกรรม รากฐาน บุคลากรมีสมรรถนะ บุคลากรมีขวัญกำลังใจ ระบบข้อมูลข่าวสารมีคุภาพ มาตรฐาน • พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล • พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล • พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและICTให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เปลี่ยนแปลงอะไร? (ยุทธศาสตร์=การเปลี่ยนแปลง) เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ SRM (๔ ปี) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ SLM (๒ ปี) กลยุทธ์ เปลี่ยนแปลงอย่างไร? แผนปฏิบัติการ (๑ ปี) กิจกรรม งาน (การกระทำเชิง)วิชาการ งาน(การกะทำเชิง)สังคม ตัวชี้วัด
มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มุมมองเชิงคุณค่า (ประชาชน) มุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(ภาคี) มุมมองการบริหารจัดการ(กระบวนการ) มุมมองการเรียนรู้และพัฒนา(รากฐาน)
การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่นการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น กรม / เขต จังหวัด อำเภอ • SRM + SLM • รายประเด็น • จุดหมายปลายทางSRM / SLM • ของจังหวัด • (ถ้ามี) • จุดหมายปลายทาง • SLMของอำเภอ • ตารางนิยามฯ • 11 ช่อง(บางส่วน) • จุดหมายปลายทาง+ SLM ร่วมสองกรมฯ บริบทของตำบล ประเด็นกำหนดโดยผู้บริหาร เติมเต็มตารางนิยามเป้าประสงค์ 11 ช่อง แผนปฏิบัติการตำบลรายประเด็น ตำบล ใช้แผนที่ความคิด ใช้ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังตำบล
คำถามในการแปลงวิสัยทัศน์สู่ภาคปฏิบัติ (Strategy Formulation) วัดได้อย่างไรว่า Goal บรรลุแล้ว ต้องทำไหนถึงที่จะทำให้ ประเด็นยุทธศาสตร์ บรรลุผล ทำอะไรบ้างเพื่อให้ ตัวชี้วัดบรรลุผล ต้องทำอะไรใหญ่ ๆ เพื่อให้วิสัยทัศน์บรรลุผล มีโครงการอะไรใหม่ ๆ เพื่อให้ยุทธศาสตร์บรรลุผล อยากเป็นอะไร Vision Strategic Issue Goal KPI/Target Strategy Initiative
เครื่องชี้วัดความสำเร็จ (Indicator) คืออะไร? เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการ... กำหนดทิศทางการดำเนินงาน การตรวจสอบ ควบคุมและติดตามผล เพื่อให้งานนั้นบรรลุเป้าหมายสูงสุด จะใช้วัดความก้าวหน้าของกิจกรรมและวัดผลที่ได้จากการทำกิจกรรมในแต่ละเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์
เครื่องมือที่ใช้ชี้วัดความสำเร็จเครื่องมือที่ใช้ชี้วัดความสำเร็จ ใช้เครื่องมือสำคัญ 2 ชนิดคือ 1.หัวใจของความสำเร็จ (Critical Success Factor:CSF) “ อะไรคือสิ่งที่จุดประกายที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ (หรือปฏิกิริยาลูกโซ่)ที่นำไปสู่ความสำเร็จ” 2.ตัวชี้วัดความสำเร็จ (Key Performance Indicator:KPI “ เราต้องทำหรือจะทำอะไร? ที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่เหล่านั้น ”
การค้นหาหัวใจของความสำเร็จการค้นหาหัวใจของความสำเร็จ •ภายในเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (Strategic Objective) แต่ละข้อจะมีองค์ประกอบ(อาจเป็นกระบวนการหรือตัวคนก็ได้)ที่มีความสำคัญสูงต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการบรรลุความสำเร็จ •สิ่งที่ท้าทายคือ ความสามารถกลั่นกรอง เลือกเฟ้นองค์ประกอบที่มีความสำคัญสูงสุด หรือที่เรียกว่าเป็น หัวใจความสำเร็จ หรือ Critical Success Factor(CSF) ของยุทธศาสตร์ให้พบ
ตัวอย่าง:หัวใจของความสำเร็จ(Critical Success Factor : CSF) หัวใจของความสำเร็จ(CSF)ของยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองไทยแข็งแรง การเฝ้าระวัง(สุขภาพ) ตนเองสภาวะแวดล้อมสังคม สร้างการมีส่วนร่วม กับภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนา สุขภาพ สร้างคนที่มีความสามารถ (Capability) และพลังใจที่จะ ทำงานให้สำเร็จ
ประเภทของเครื่องชี้วัดประเภทของเครื่องชี้วัด ประเภทที่ 1 แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญ ของการเปลี่ยนแปลง ใช้ชื่อว่า “ตัวชี้วัดผลลัพธ์” (Key Result Indicator:KRI) ประเภทที่ 2 แสดงปฏิบัติการที่นำไปสู่ผลลัพธ์ในประเภทที่ 1 ใช้ชื่อว่า “ตัวชี้วัดผลงาน” (Performance Indicator:PI) ประเภทที่ 3 แสดงปฏิบัติการสำคัญที่มีผลต่อวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์หลายตัวหรือทั้งหมด ใช้ชื่อว่า“ตัวชี้วัดผลสำเร็จ” (Key Performance Indicator:KPI)
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ที่สำคัญ (Key Result Indicator : KRI) แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญที่ได้จากการปฏิบัติตามแผน วัดผลสำเร็จของโครงการ ซึ่งเป็นเรื่องอดีตที่เกิดจากผลพวงของการใช้กระบวนการต่างๆ หลายอย่าง แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าเกิดจากกระบวนการใด ไม่สามารถปรับทิศทางของงานได้ เหมาะสำหรับผู้บริหารระดับสูง ผู้ควบคุมนโยบาย บอกได้ว่าเกิดผลกับนโยบายอย่างไรบ้าง? แต่ไม่สามารถบอกที่มาที่ไปหรือเบื้องหลังของผลที่ได้
KRI แสดงว่า “เราได้ทำอะไรไปแล้ว” (Output/Outcome ) มีลักษณะเป็นอดีต ( Historical ) •เป็นผลรวมของกระบวนการต่างๆ หลาย อย่าง ไม่สามารถระบุที่มาที่ไปได้ •ไม่บอกว่า “ได้ทำ (process) อย่างไร? ใครทำ” จึงใช้ปรับทิศทางไม่ได้ ตัวอย่าง เช่น ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกอบรมตามโครงการ ร้อยละของเด็กที่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อัตราป่วยด้วยโรคไข้หวัดนก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ที่สำคัญ (Key Result Indicator : KRI)
เป็นเครื่องชี้วัดที่หน่วยงานต่างๆ สร้างขึ้น สำหรับควบคุมการปฏิบัติงานในส่วนที่รับผิดชอบหรือวางแผนงบประมาณ แสดงว่า “เราต้องทำอะไรบ้าง” แต่ไม่บอกว่า อะไรมีความสำคัญสูงสุด เป็นแหล่งที่มาของ KPI อีกทีหนึ่ง ใช้ ประกอบกับ KPI โดยเฉพาะในองค์กรระดับ ปฏิบัติการ มีจำนวนมาก อยู่ระหว่าง KRI กับ KPI อาจไม่มีผลโดยตรงต่อการบรรลุเป้าหมายในระยะสั้นแต่มีผลต่อการพัฒนาในระยะยาว ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator : PI)
ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator : PI) •ใช้ได้ทั้งเพื่อแสดงอดีต(ผลงานที่ผ่านมา)หรือปัจจุบัน (กำลังทำอะไรอยู่) ตัวอย่าง เช่น มีการศึกษาวิจัยองค์ความรู้, มีศูนย์ประสานงานเครือข่าย, มีฐานข้อมูลที่พร้อมใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ จำนวนคู่มือ/สื่อ/ศูนย์การเรียนรู้ มีการสำรวจสัตว์ปีก/การฉีดวัคซีน
มีลักษณะเป็นปัจจุบันหรืออนาคต เท่านั้น “เราต้องทำหรือจะทำอะไรที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ที่นำไปสู่ความสำเร็จ” ใช้ติดตามงานที่เกิดขึ้นเป็นรายวัน/ทุกวัน หรือเป็นปัจจุบัน (Real Time) ใช้วางแผนงานล่วงหน้าว่าจะทำอะไรในอาทิตย์หน้า/เดือนหน้า ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator : KPI)
ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator : KPI) ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องเข้าใจเครื่องชี้วัดและรู้วิธีแก้ไขเมื่อเกิดปัญหา สามารถหาผู้รับผิดชอบในระดับต่างๆได้เมื่อเกิดปัญหา มีผลกระทบต่อยุทธศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญและ กว้างขวาง(หลายมุมมอง) ต้องมีการติดตาม ตอบสนองโดยผู้บริหารระดับ CEO
ตัวอย่าง : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : KPI การรายงาน/แจ้ง การพบผู้ป่วยโรคไข้หวัดนก ภายใน 1 ชั่วโมง เดินออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องวันละ 30 นาที (ไม่ใช่ 3 วัน/สัปดาห์) ดำเนินการตามข้อตกลงการดำเนินงานร่วมกัน (ไม่ใช่มีแค่เอกสาร) ผู้ผ่านการเสริมสร้างทักษะสามารถสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ในพื้นที่เป้าหมายได้ การแลกเปลี่ยนและใช้ข้อมูลสารสนเทศระหว่างเครือข่าย
ตารางช่วยสร้างแผนกลยุทธ์ฉบับปฏิบัติการ (Strategic Plan) จาก SLM
วิธีการจัดทำแผนเพื่อกำหนดเป้าหมายและเครื่องชี้วัดวิธีการจัดทำแผนเพื่อกำหนดเป้าหมายและเครื่องชี้วัด 1.นำเป้าประสงค์และกลยุทธ์สำคัญมาบรรจุลงในช่อง(ช่องที่ 1, 2) 2.ร่วมกันคิดกิจกรรมสำคัญของแต่ละกลยุทธ์ในแต่ละวัตถประสงค์ลงในช่องกิจกรรมสำคัญ ต้องการคิดใหม่ๆ หรืออาจนำกิจกรรมที่มีมาใส่ (ช่องที่ 3) เช่น...จัดทำระบบข้อมูล ฯลฯ 3.ระบุอาการกระทำ (กริยา) หรือวิธีการทำกิจกรรมสำคัญแต่ละกิจกรรมว่าทำอย่างไร เช่น เก็บรวบรวมข้อมูล ออกแบบฐานข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูล (ช่องที่ 4) 4.กำหนดตัวชี้วัดผลงาน (PI) ในแต่ละการกระทำ (อดีต, ปัจจุบัน)(ช่องที่ 5)
5.ดำเนินการจนครบทุกเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สำคัญทุกข้อ (โดยยังมิต้องกำหนดและเขียน KPI ความคิดริเริม เป้าหมายภายใน 1 ปี และผู้รับผิดชอบประจำกลุ่ม) 6.หา CSF ให้พบที่อยู่ในชุดการกระทำ (ช่อง 4) เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูล (ทำให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่) 7.เมื่อได้ CSF แล้วก็ให้พิจารณากำหนด KPI โดยคัดเลือกจาก PI จำนวนมาก(ในช่อง 5 )คัดเลือกเพียง 1 ตัวต่อ 1 เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ ลงใน(ช่อง 6) 8. การหา CSF / KPI ต้องเคร่งครัด อย่าพยายามเหมาว่า PI ตัวใดตัวหนึ่งคือ KPI วิธีการจัดทำแผนเพื่อกำหนดเป้าหมายและเครื่องชี้วัด
9.หากหา KPI ไม่ได้ แสดงว่าการกระทำที่คิดไว้อาจไม่ให้ผลตอบแทนที่ดีพอ ดังนั้นต้องระดมสมองพิจารณาค้นหาความคิดริเริ่มใหม่ๆ ไว้ใน(ช่องที่ 7) 10.ข้อสังเกต KPI เป็นปัจจุบันหรืออนาคตเท่านั้น เช่น บุคลากรสามารถปฏิบัติการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ได้ (ส่งผลที่จะไปดำเนินต่อๆไป) 11.เมื่อได้โครงการ ตัวชี้วัด KPI/CSF และเป้าหมาย แล้ว CEO จะเป็นผู้คัดเลือกบุคคลเป็นผู้รับผิดชอบประจำกลุ่มคนละ 1 กล่องเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ หากบุคลากรไม่เพียงพอให้รับผิดชอบไม่เกิน 2 กล่อง วิธีการจัดทำแผนเพื่อกำหนดเป้าหมายและเครื่องชี้วัด
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553 1. การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ แบบฟอร์มแผนยุทธศาสตร์ =>ตรวจสอบ เป้าประสงค์, ตัวชี้วัด, ค่าเป้าหมาย, กลยุทธ์ 2. นิยามเป้าประสงค์ (แปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ) แบบฟอร์มตาราง 9 ช่อง(แบบฟอร์ม 2) =>กำหนดกิจกรรมสำคัญ, กระบวนการ, PI, KPI, Initiative, เป้าหมาย
แผนปฏิบัติการประจำปี (แบบฟอร์ม 3)(ร่างโครงการเพื่อทำแผนขออนุมัติงบประมาณ)