480 likes | 611 Views
ฐานข้อมูลภาคเศรษฐกิจจริง : ทิศทางและการพัฒนา. 18 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรม SHERATON GRANDE SUKHUMVIT. หัวข้อการนำเสนอ. 2. 1. บทนำ : สถิติกับการดำเนินนโยบาย. การประเมินคุณภาพและความเพียงพอ ของข้อมูลเศรษฐกิจ. 2. 3. แนวทางการพัฒนา. 4. บทสรุปและความท้าทาย. หัวข้อการนำเสนอ. 3. 1.
E N D
ฐานข้อมูลภาคเศรษฐกิจจริง : ทิศทางและการพัฒนา 18 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรม SHERATON GRANDE SUKHUMVIT
หัวข้อการนำเสนอ 2 1 บทนำ: สถิติกับการดำเนินนโยบาย การประเมินคุณภาพและความเพียงพอ ของข้อมูลเศรษฐกิจ 2 3 แนวทางการพัฒนา 4 บทสรุปและความท้าทาย
หัวข้อการนำเสนอ 3 1 บทนำ: สถิติกับการดำเนินนโยบาย
บทนำ: สถิติกับการดำเนินนโยบาย 1 4 ¤ UNESCO: ทรัพยากรสารนิเทศ เป็น 1 ใน 3 ของ ทรัพยากรที่สำคัญที่สุดของโลก ¤ สถิติ และ เครื่องชี้ = “วัตถุดิบสำคัญ” สำหรับการวิเคราะห์ และกำหนดนโยบาย - คุณภาพน่าเชื่อถือ - ทันการณ์ - ตรงประเด็น + เป็นประโยชน์
บทนำ: สถิติกับการดำเนินนโยบาย 1 5 ¤ โลกาภิวัฒน์ ปริมาณธุรกรรมทวีขนาด & ความผันผวน- Export + Import / GDP ≈ 110% - Gross Capital Flows / GDP ≈ 920%
บทนำ: สถิติกับการดำเนินนโยบาย 1 6 6 ¤ นวัตกรรมทางการเงิน / เทคโนโลยี ธุรกรรมซับซ้อน จัดเก็บได้ยาก
บทนำ: สถิติกับการดำเนินนโยบาย 1 REALSECTOR STATISTICS Dสิ่งแวดล้อม Dความต้องการข้อมูล ประเมินคุณภาพ-ความเพียงพอของข้อมูลเศรษฐกิจ 7 7
หัวข้อการนำเสนอ 8 การประเมินคุณภาพและความเพียงพอของข้อมูลเศรษฐกิจ 2
กรอบในการประเมินคุณภาพของข้อมูลกรอบในการประเมินคุณภาพของข้อมูล 2.1 9 • หลักเกณฑ์ในการประเมินคุณภาพข้อมูล
กรอบในการประเมินคุณภาพของข้อมูลกรอบในการประเมินคุณภาพของข้อมูล 2.1 10 • หลักเกณฑ์ในการประเมินคุณภาพข้อมูล
กรอบในการประเมินคุณภาพของข้อมูลกรอบในการประเมินคุณภาพของข้อมูล 2.1 11
ผลการประเมินคุณภาพของข้อมูลผลการประเมินคุณภาพของข้อมูล 2.2 12 • มิติที่ได้รับคะแนนการประเมินต่ำกว่ามิติด้านอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ มิติด้านความเพียงพอต่อความต้องการใช้ข้อมูล และความถี่และความรวดเร็วของการเผยแพร่ข้อมูล
ผลการประเมินคุณภาพของข้อมูล (ต่อ) 2.2 13
ผลการประเมินคุณภาพของข้อมูล (ต่อ) 2.2 14
ผลการประเมินคุณภาพของข้อมูล (ต่อ) 2.2 15 • กลุ่มข้อมูลที่ได้รับคะแนนโดยเฉลี่ยต่ำกว่ากลุ่มอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติมี 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) ภาคเกษตร / ประมง / เหมืองแร่ 2) แรงงาน 3) ภาคบริการ และ 4) ภาคอสังหาริมทรัพย์
ผลการประเมินคุณภาพของข้อมูล (ต่อ) 2.2 16 • มิติด้านคุณภาพแต่ละกลุ่มได้รับคะแนนโดยเฉลี่ยต่ำ คือ • ความพอเพียงและความตรงต่อความต้องการใช้งาน • ความถี่และความรวดเร็วในการจัดทำและเผยแพร่ข้อมูล • ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล
หัวข้อการนำเสนอ 17 17 3 แนวทางการพัฒนา
การพัฒนาคุณภาพของข้อมูลการพัฒนาคุณภาพของข้อมูล 3 18 • อย่างไรก็ตาม การพัฒนาบางมิติก็เอื้อให้มิติด้านอื่นๆ พัฒนาไปด้วย เช่น มิติด้านความเพียงพอและตรงตามการใช้และการเข้าถึงข้อมูล • ข้อมูลที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวกรวดเร็วและด้วยต้นทุนที่ต่ำจะทำให้ข้อมูลถูกนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างสูงสุด • ข้อมูลที่มิได้ทำการเผยแพร่อย่างเป็นระบบก็อาจทำให้ผู้ใช้ข้อมูลไม่ทราบว่ามีข้อมูลนั้นๆ • การสร้างความสมดุลของมิติต่างๆ เนื่องจากบางครั้งการพัฒนาในบางมิติก็ส่งผลกระทบให้มิติบางด้านปรับแย่ลงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
การพัฒนาคุณภาพของข้อมูล (ต่อ) 3 19
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคเกษตร 3.1 20 • ปัจจุบันหน่วยงานหลักที่จัดทำข้อมูลดัชนีราคาและปริมาณพืชผลเกษตร ได้แก่ ธปท. และ สำนักเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) • ดัชนีปริมาณและราคาพืชผล ซึ่งใช้ปีฐาน คือ ปี 2531 และ 2538 ส่งผลให้ดัชนีทั้ง 2 ของ ธปท. มีปัญหาด้าน Bias ค่อนข้างมาก
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคเกษตร (ต่อ) 3.1 21 • ธปท. จึงมีแนวคิดที่จะให้ สศก. เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำเครื่องชี้ดังกล่าว
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคแรงงาน 3.2 22 • ข้อมูลด้านแรงงานส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่ได้จากการสำรวจภาวะแรงงาน (Labour Force Survey: LFS) ซึ่งจัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ในการออกแบบสำรวจดังกล่าว สสช. ได้มีการหารือร่วมกับ International Labour Organization (ILO) เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และนิยามต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับประเทศไทยและสามารถครอบคลุมทั้งในส่วนของภาวะการมีงานทำ การว่างงาน รวมทั้งกลุ่มที่ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน • นิยามของผู้ว่างงานของไทย คือ • เป็นผู้ที่อยู่ในกำลังแรงงาน (ผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป) • เป็นผู้ที่ไม่ได้ทำงาน (Without Work) • พร้อมที่จะทำงานในช่วงเวลาที่ทำการสำรวจ (Currently Available for Work)
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคแรงงาน (ต่อ) 3.2 23
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคแรงงาน (ต่อ) 3.2 24 • การมีตารางมาตรฐานเพื่อเผยแพร่ข้อมูลที่มีความต้องการใช้งานอย่างแพร่หลาย จะช่วยให้ข้อมูลการสำรวจภาวะแรงงานถูกนำไปใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่ามากขึ้น ซึ่งมิใช่แต่เฉพาะเพื่อประโยชน์ต่อการดำเนินนโยบายเท่านั้น ยังรวมถึงการพัฒนาองค์ความรู้และงานวิจัยด้านแรงงานของประเทศอีกด้วย
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคบริการ 3.3 25 • เครื่องชี้ด้านบริการนับได้ว่าเป็นข้อมูลที่มีความขาดแคลนอย่างยิ่ง ซึ่งความขาดแคลนนี้มิได้เกิดขึ้นเฉพาะประเทศไทยเท่านั้น แต่ประเทศพัฒนาแล้วอย่าง สหรัฐอเมริกา กลุ่มยุโรป หรือ ญี่ปุ่น ก็ล้วนประสบปัญหานี้เช่นกัน เนื่องจากข้อมูลภาคบริการเป็นข้อมูลที่มีความซับซ้อนและมีความหลากหลาย ทำให้ในการจัดทำข้อมูลทำได้ยากและต้องใช้งบประมาณค่อนข้างสูง • ปัจจุบัน การจัดทำข้อมูลการค้าส่งและการค้าปลีกของ ธปท. ใช้ฐานข้อมูลการนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคบริการ (ต่อ) 3.3 26 • แม้ว่าอัตราเข้าพักจะเป็นส่วนหนึ่งในการสะท้อนถึงกิจกรรมการท่องเที่ยวของคนในประเทศ แต่การเกิด Sample Error ส่งผลให้อัตราเข้าพักที่ ธปท. ได้จัดทำอยู่มิได้สะท้อนกิจกรรมการท่องเที่ยวของคนในประเทศ จึงจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงการจัดทำเครื่องชี้ดังกล่าว เพื่อให้มีความถูกต้องและครอบคลุมมากยิ่งขึ้น • ธปท. ได้จัดทำเครื่องชี้เพิ่มเติม ได้แก่ อัตราการจองห้องพักล่วงหน้า 3 เดือน ค่าห้องพักเฉลี่ยที่ขายได้จริง สัดส่วนรายได้จากการจัดประชุม / สัมมนา และสัดส่วนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคบริการ (ต่อ) 3.3 27 • นอกจากนี้ ยังมีเครื่องชี้อื่นๆ ในภาคบริการของไทยยังคงขาดแคลนอย่างมาก อาทิ เครื่องชี้การขนส่งและคมนาคมซึ่งมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 20 ของ GDP ภาคบริการ ดังนั้น การประสานงานกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมสรรพากร คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ก็จะเพิ่มโอกาสสำเร็จในการจัดทำเครื่องชี้ภาคบริการที่สมบูรณ์ ครบถ้วนยิ่งขึ้นไป
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคอสังหาริมทรัพย์ 3.4 28 • เครื่องชี้ภาคอสังหาริมทรัพย์ถือได้ว่าเป็นข้อมูลที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินนโยบาย เนื่องจากภาคอสังหาริมทรัพย์เป็นภาคที่มีความเชื่อมโยงกับภาคการผลิตอื่นๆ ค่อนข้างสูง เนื่องจากเป็นข้อมูลที่มีหลายมิติ อาทิ อุปสงค์และอุปทานของตลาดที่อยู่อาศัย รวมทั้งระดับราคาซึ่งจำแนกตามประเภทสิ่งปลูกสร้าง • ในการจัดทำเครื่องชี้ในกลุ่มนี้มีความเกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน ได้แก่ ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ (Real Estate Information Center: REIC) Agency for Real Estate Affairs (AREA) กรมที่ดิน สำนักงานเขตและเทศบาล ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) และ ธปท.
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคอสังหาริมทรัพย์ (ต่อ) 3.4 29 • ปัญหาที่สำคัญของเครื่องชี้ในกลุ่มนี้ คือ มีความถี่ไม่เพียงพอต่อการติดตามภาวะอสังหาริมทรัพย์และครอบคลุมแต่เฉพาะกิจกรรมที่เกิดขึ้นในตลาดที่อยู่อาศัยในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลเท่านั้น • ข้อมูลที่จำเป็นอย่างยิ่งที่จะช่วยให้การติดตามภาวะได้ดียิ่งขึ้น ได้แก่ • สินเชื่อเพื่อการซื้อบ้านหลังแรก / การโอนกรรมสิทธิ์บ้านหลังแรก • Housing Start ที่แท้จริง • การพัฒนาเครื่องชี้ในกลุ่มนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัยข้อมูลจากกรมที่ดินและสำนักงานเขตซึ่งเป็นหน่วยงานของทางการที่มีข้อมูลครอบคลุมทั้งประเทศ รวมทั้งการประสานงานกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในการทำให้การจัดเก็บ รวบรวม ตลอดจนการเผยแพร่ข้อมูล
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคอุตสาหกรรม 3.5 30 • ปัจจุบันหน่วยงานหลักที่จัดทำเครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม ได้แก่ ธปท. และ สำนักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคอุตสาหกรรม (ต่อ) 3.5 31 • ข้อมูล MPI และ CAPU ที่จัดทำโดยทั้ง 2 หน่วยงาน มีความ เคลื่อนไหวเป็นไปในทิศทางเดียวกัน • การที่ทั้ง 2 หน่วยงานต่างก็จัดทำเครื่องชี้ดังกล่าวก่อให้เกิดต้นทุนส่วนเกินทั้งสำหรับหน่วยงานและผู้ประกอบการ ธปท. จึงมีแนวคิดที่จะให้ สศอ. เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำ
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: ภาคอุตสาหกรรม (ต่อ) 3.5 32 • เครื่องชี้ที่สำคัญที่จะช่วยให้การวิเคราะห์ภาพเศรษฐกิจมีความสมบูรณ์มากขึ้น ได้แก่ ดัชนีปริมาณคำสั่งซื้อ (New Orders) ซึ่งจะช่วยสะท้อนถึงอุปสงค์ของสินค้า และสามารถบอกแนวโน้มทางเศรษฐกิจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อใช้คำนวณขึ้นเป็นดัชนีชี้นำเศรษฐกิจ
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: บัญชีรายได้ประชาชาติ 3.6 33 • บัญชีรายได้ประชาชาติเป็นข้อมูลที่ได้รับการประเมินอยู่ในเกณฑ์ดี และเป็นข้อมูลที่ถูกใช้เป็น Reference Series ค่อนข้างมาก
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: บัญชีรายได้ประชาชาติ (ต่อ) 3.5 34 • การปรับเปลี่ยนข้อมูลย้อนหลังจึงส่งผลกระทบต่อการวิเคราะห์ภาพเศรษฐกิจและการประมาณการค่อนข้างมาก • โดยทั่วไป การปรับข้อมูลจะมี 2 ลักษณะ คือ • การปรับปรุงในไตรมาสย้อนหลังจากไตรมาสอ้างอิงหนึ่งไตรมาส เพื่อให้มีความถูกต้องยิ่งขึ้นอันเนื่องมาจากการปรับปรุงตามแหล่งข้อมูลล่าสุด • การปรับปรุงเพื่อให้ค่าผลรวมรายไตรมาสทั้งสี่ไตรมาสมีค่าเท่ากับรายปีโดยจะทำการปรับปรุงทุกไตรมาสที่ 2 ของปี โดยปรับข้อมูลย้อนหลัง 14 ไตรมาส
การพัฒนาคุณภาพข้อมูล: บัญชีรายได้ประชาชาติ (ต่อ) 3.5 35 • ค่า Mean Absolute Revision ของไทยมีค่าค่อนข้างต่ำ ซึ่งมีสาหตุมาจาก • การจัดทำข้อมูลดังกล่าวมีความถูกต้องอยู่แล้วซึ่งสะท้อนว่าความถูกต้องแม่นยำของเครื่องชี้ต่างๆ • กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอย่างที่ไม่สามารถจัดเก็บได้ ณ ช่วงเวลาที่จัดทำข้อมูล ก็ยังคงไม่สามารถจัดเก็บได้แม้ว่าเวลาผ่านไประยะหนึ่ง • การจัดเก็บข้อมูลเพื่อให้เป็น Track Record และศึกษาแยกเป็นรายองค์ประกอบเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะช่วยสร้างความโปร่งใสในการจัดทำข้อมูลและช่วยให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้รับรู้ถึงข้อบกพร่องของข้อมูลที่ตนเองจัดทำ
หัวข้อการนำเสนอ 36 4 บทสรุปและความท้าทาย
ความท้าทายในการจัดทำข้อมูล : ระบบการจัดเก็บสถิติ 4.1 37 Decentralized System
ความท้าทายในการจัดทำข้อมูล : ระบบการจัดเก็บสถิติ 4.1 Decentralized Statistical System การบริหารจัดการองค์รวม = ขาดเอกภาพ ประสานงานระหว่างหน่วยงานอย่างใกล้ชิด 38
ความท้าทายในการจัดทำข้อมูล : ระบบการจัดเก็บสถิติ 4.1 39 ประสานงานระหว่างหน่วยงานอย่างใกล้ชิด ลดงานซ้ำซ้อน ลดภาระผู้ให้ข้อมูล ใช้ข้อมูลร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ความท้าทายในการจัดทำข้อมูล : ระบบการจัดเก็บสถิติ 4.1 MPI ลดงานซ้ำซ้อน ลดภาระผู้ให้ข้อมูล CAPU ดัชนีราคา XM 40
ความท้าทายในการจัดทำข้อมูล : ระบบการจัดเก็บสถิติ 4.1 41 เครื่องชี้ภาคบริการ ใช้ข้อมูลร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด เครื่องชี้ภาคอสังหาฯ FATS
ความท้าทายในการจัดทำข้อมูล : ระบบการจัดเก็บสถิติ 4.1 ¤ วัดผลกระทบของ FDI ต่อประเทศผู้รับทุน ¤การประเมินการส่งเสริมการลงทุน ¤ การเจรจาเปิดเสรีการค้า / การลงทุน ¤ วิเคราะห์ผลกระทบจากวิกฤตในต่างประเทศ ¤ อาเซียนส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกจัดทำ FATS คืออะไร? สถิติที่วัดขนาดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ของบริษัทที่มีนักลงทุนต่างชาติถือหุ้น > 50% FATS ให้อะไร? Foreign Affiliate Statistics (FATS) 42
ความท้าทายในการจัดทำข้อมูล : ระบบการจัดเก็บสถิติ 4.1 เบื้องหลัง FATS 43 ธปท. BOI กรมศุลกากร กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
ความท้าทายในการจัดทำข้อมูล : ระบบการจัดเก็บสถิติ 4.1 ตัวแปรเบื้องต้น FATS ในอนาคต 44 มูลค่าเพิ่ม จำนวนบริษัท งบฯ พัฒนาบุคลากร การจ้างงาน งบฯ วิจัยและพัฒนา ยอดขาย ส่งออก/นำเข้า จำแนกประเทศ
ความท้าทายในการจัดทำข้อมูล: การปรับมาตรฐานสถิติ 4.2 ISIC 2008 SNA HS BPM6 ……. ……. 45 การปรับมาตรฐาน - คู่มือการจัดทำสถิติ การจำแนกหมวดหมู่ คู่มือใหม่
ความท้าทายในการจัดทำข้อมูล: การปรับมาตรฐานสถิติ 4.2 46 คู่มือใหม่ บัญชีบริวาร Non-Observed Economy
สรุป โลกข้อมูลไม่หยุดนิ่ง 4.3 พัฒนาคุณภาพ - สร้างเครื่องชี้ใหม่ ประสานงานระหว่างหน่วยงาน ร่วมมือภาครัฐ-เอกชน