1 / 44

การออกแบบ TOR ด้านโทรคมนาคม

การออกแบบ TOR ด้านโทรคมนาคม. วิเศษ ศักดิ์ศิริ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สจพ. ความหมายและความสําคัญของ TOR. Terms of Reference หรือที่เรียกกันทั่วไปว  า TOR เป  นเอกสารที่กําหนดขอบเขต รายละเอียดของภารกิจ TOR กำหนดสิ่งที่ต  องการให  ผู  รับจ  างดําเนินการ

mizell
Download Presentation

การออกแบบ TOR ด้านโทรคมนาคม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การออกแบบTORด้านโทรคมนาคมการออกแบบTORด้านโทรคมนาคม วิเศษ ศักดิ์ศิริ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สจพ.

  2. ความหมายและความสําคัญของ TOR • Terms of Reference หรือที่เรียกกันทั่วไปวา TOR • เปนเอกสารที่กําหนดขอบเขต • รายละเอียดของภารกิจ • TOR กำหนดสิ่งที่ตองการใหผูรับจางดําเนินการ • กำหนดความรับผิดชอบอื่นๆ ของผูรับจางที่เกี่ยวของกับภารกิจนั้น

  3. ตัวอยางTOR • การวาจางที่ปรึกษาใหดําเนินการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม • กําหนดขอบเขตของการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม • ประเด็นที่ตองศึกษา • ระดับความลึกซึ้ง ของการศึกษาแตละประเด็น • รายงานตางๆ ซึ่งที่ปรึกษาจะตองจัดทํา และสงมอบใหผูวาจางในชวงเวลาตางๆ ตลอดชวงเวลาของการดําเนินภารกิจ

  4. ความหมายของTOR • TOR จึงเทียบไดกับขอกําหนด (Specifications) ของสินคาที่ผูซื้อจัดทําขึ้นสําหรับการจัดซื้อ • ตางกันตรงลักษณะงานที่ไมสามารถจัดทําขอกําหนดอยางละเอียดสําหรับผลงานการศึกษาหรือบริการทางวิชาการไดเหมือนกับขอกําหนดของสินคา • ดังนั้น TOR ที่ไม่ใช่สินค้าจึงใหขอกําหนดไดเพียงสังเขป

  5. ความสําคัญของ TOR (1) • TOR มีความสําคัญมากตอคุณภาพของผลงานที่จะได • TOR จะตองมีความชัดเจน และกําหนดประเด็นตางๆ ที่ผู้รับจ้างจะตองวิเคราะหไวอยางชัดเจน • TOR ยิ่งมีความชัดเจนเพียงใด ยิ่งทําใหการคัดเลือกงายขึ้น • โปรงใสมากขึ้น และการประเมินปริมาณแรงงานสาขาตางๆ ที่ตองใชจะใกลเคียงกับความจริงมากยิ่งขึ้น

  6. ความสําคัญของ TOR (2) • TOR เปนเอกสารอางอิงที่ใชเปนสวนหนึ่งของสัญญาวาจาง • TOR จึงตองมีความชัดเจนเพียงพอตอการประเมินปริมาณและคุณภาพงาน • นอกเหนือจาก TOR ซึ่งกําหนดขอบเขตและรายละเอียดของภารกิจแลว ผูวาจางจําเปนตองกําหนดหลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกผู้รับจ้างไวดวย โดยเสนอแยกตางหากไวในเอกสารขอมูลสําหรับผู้รับจ้าง

  7. TOR ที่ดี(1) • จะตองไมเปน TOR ที่กวางทั่วไป จนสามารถนําไปใชไดในทุกกรณี • ตัวอยางเชน “ประเมินผลกระทบของโครงการที่มีตอคุณภาพน้ำในบริเวณพื้นที่ใกลเคียง” • จะตองเนนเฉพาะประเด็นใหชัดเจน • เชน “ประเมินผลกระทบตอคุณภาพน้ำในคลองบางขัน คลองวง และคลองสี ในบริเวณใกลเคียงกับพื้นที่ กองวัสดุกอสรางของโครงการ โดยเนนคุณภาพน้ำในเรื่องความขุนในชวงเวลาหลังจากฝนตก ซึ่งเกิดขึ้นจากน้ำฝนชะลางวัสดุกอสราง”

  8. TOR ที่ดี(2) • ดังนั้น การจัดทํา TOR จึงตองมีการศึกษาวิเคราะหปญหา ในเบื้องตนหรือ ในระดับแนวคิด • ซึ่งเปนการศึกษาเพื่อบงชี้ปญหามากกวาการหาคําตอบ การศึกษาใชเวลาไมนาน และอาจทําไดโดยการรวมหารือกับกลุมตางๆ เพื่อใหไดมุมมองที่หลากหลายครบถวนสมบูรณที่สุด

  9. โครงสรางของ TOR(1) • โดยทั่วไป เอกสาร TOR จะประกอบดวยสวนหรือหัวขอตางๆ ดังตอไปนี้ • (1) บทนํา ขอมูลเกี่ยวกับโครงการ • (2) วัตถุประสงคของภารกิจ และผลงานที่ตองการจากผู้รับจ้าง • (3) ขอมูลเกี่ยวกับภารกิจของผู้รับจ้าง • (4) ขอบเขตการดําเนินงาน

  10. โครงสรางของ TOR(2) • (5) ระยะเวลาการดําเนินงาน • (6) บุคลากรที่ตองการ • (7) ระยะเวลาการสงมอบผลงาน • (8) การกํากับการทํางานของผู้รับจ้าง • (9) หนาที่ความรับผิดชอบของผูวาจาง

  11. (1) บทนํา • บทนําจะใหขอมูลความเปนมาของโครงการ และภารกิจที่ตองการวาจาง • เพื่อใหผู้รับจ้างเขาใจถึงความจําเปนหรือความสําคัญของภารกิจนี้ และความเชื่อมโยงของภารกิจนี้กับเรื่องอื่นๆ

  12. (2) วัตถุประสงคของการวาจางและผลงานที่ตองการ • วัตถุประสงคของภารกิจ คือ สิ่งที่ผูวาจางตองการจะบรรลุหลังจากที่ภารกิจเสร็จสิ้นลง TOR สวนใหญมักกําหนดวัตถุประสงคเปนวิธีการ วัตถุประสงค คือ End ไมใช Means • วัตถุประสงคจะใกลเคียงกับสิ่งที่ตองการจะไดจากผู้รับจ้าง แตสิ่งที่ตองการจะได อาจรวมสิ่งอื่นๆ อีก เชน การฝกอบรม เอกสารอื่นๆ เปนตน

  13. (3) ขอมูลเกี่ยวกับภารกิจของผู้รับจ้าง • ประมวลเสนอสาระของปญหาหรือเรื่องที่ตองการใหผู้รับจ้างดําเนินการ บงชี้ประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับโครงการ ทั้งนี้ เพื่อสรางพื้นฐานสําหรับการทําความเขาใจในขอบเขตการดําเนินงานภายใตภารกิจของผู้รับจ้าง สวนนี้ของ TOR ควรเสนอสรุปยอ รายละเอียดควรใหไวในภาคผนวกหรือเอกสารแนบ

  14. (4) ขอบเขตของการดําเนินงาน • ควรกําหนดชัดเจนวาการดําเนินงานของผู้รับจ้างต้องครอบคลุมประเด็นใดบาง และละเอียดเพียงใด ทั้งในดานลึกและดานกวาง • ขอบเขตของการดําเนินงานจะบอกวาตองทําอะไรบาง มิใชบอกวาทําอยางไร แตงานบางอยางอาจจําเปนตองบอกวา ควรทําอยางไร ทั้งนี้ เพื่อรักษามาตรฐาน • ควรแบงการดําเนินงานเปนงานตางๆ ตามขั้นตอนของการดําเนินงาน

  15. (5) ระยะเวลาการดําเนินงาน • กําหนดระยะเวลาการดําเนินงาน โดยแบงเปนระยะตามผลงานในชวงการดําเนินงาน เชน • รายงานเริ่มงาน (Inception Report) รายงานฉบับกลาง รายงานฉบับราง รายงานฉบับสุดทาย เปนตน ระยะเวลาการดําเนินงานที่กําหนดใหที่ปรึกษาตองมีความเปนไปได (Realistic) สอดคลองกับปริมาณงาน และขอจํากัดอื่นๆ โดยทั่วไป ถาระยะเวลา การทํางานสั้นจะใชคนมาก ถาระยะเวลาทํางานยาวใชคนนอย กลาวคือ ปริมาณคน-เดือนที่ตองใชจะ ไมเปลี่ยนแปลง

  16. (6) บุคลากรที่ตองการ • จะตองกําหนดชัดเจนวาบุคลากรที่ตองการสําหรับภารกิจนี้ จะประกอบดวยผูเชี่ยวชาญดานใดบาง แตละดานจะใชแรงงานเทาใด • ปริมาณแรงงานวัดเปนคน-เดือน (Person-Months) คนทั่วไปมักมีความสับสนในความหมายของคน-เดือน • งานที่ถูกกําหนดใหแลวเสร็จภายใน 6 เดือน โดยใชปริมาณแรงงาน 36 คน-เดือน หมายถึงวา โดยเฉลี่ยงานนี้ใชคนทํางานเต็มเวลา 6 คน คนละ 6 เดือน รวมเปน 36 คน-เดือน

  17. (7) ระยะเวลาการสงมอบผลงานของผู้รับจ้าง • ผลงานของผู้รับจ้าง ไดแก ผลงาน รายงาน คูมือ การฝกอบรม การจัดสัมมนา เปนตน TOR จะตองกําหนดอยางชัดเจนวาตองการผลงานอะไรบาง • ขอกําหนดของผลงานเปนอยางไร (เชน งานแตละงวด จะตองมีเนื้อหาสาระอะไรบาง) • รูปรางหนาตาของผลงานควรเปนอยางไร (Format) กําหนดสงมอบเมื่อไร จํานวนเทาใด

  18. (8) การกํากับการดําเนินงานของผู้รับจ้าง • เอกสาร TOR ควรใหขอมูลแกผู้รับจ้างในเรื่องการจัดองคกรของผูวาจาง เพื่อการกํากับการดําเนินงานของผู้รับจ้าง กลไกที่จะใชในการประสานงานกับผู้รับจ้าง • โดยทั่วไป ผูวาจางจะมีเจาหนาที่รวม (Counterpart Staff) เพื่อประโยชนในการเรียนรูจากผู้รับจ้าง (มักตองเรียนรูเอาเอง เพราะผู้รับจ้างจะใหความสําคัญแกการทํางานตามภารกิจของตนกอน) ผูประสานงานโครงการหรือผูจัดการโครงการ คณะกรรมการกํากับการดําเนินงานของผู้รับจ้าง(คณะกรรมการกํากับโครงการ)

  19. (9) หนาที่ความรับผิดชอบของผูวาจาง • เอกสาร TOR จะตองกําหนดชัดเจนวา ผูวาจางจะใหอะไรหรือทําอะไรใหแกที่ปรึกษาไดบาง จะคิดคาใชจายหรือไมคิด ถาคิดจะคิดอยางไร รายการที่ควรพิจารณา ไดแก • สถานที่ทํางาน เฟอรนิเจอรสํานักงาน เครื่องใชสํานักงาน เครื่องคอมพิวเตอร และเครื่องพิมพ เครื่องถายเอกสาร โทรศัพท โทรสาร ยานพาหนะ วัสดุสิ้นเปลืองตางๆ • ขอมูลตางๆ ที่จําเปนสําหรับการทํางานของที่ปรึกษา ถาเปนขอมูลของหนวยราชการตางๆ ผูวาจางควรรับหนาที่ในการเก็บรวบรวมใหที่ปรึกษาจะประหยัดเวลาและเงินคาจางไดมาก • คาใชจายอื่นๆ เชน การจัดสัมมนา การพิมพเอกสารตางๆ

  20. การพิจารณาขอเสนอดานเทคนิค(1)การพิจารณาขอเสนอดานเทคนิค(1) • ขอเสนอดานเทคนิค (Technical Proposal) เปนเอกสารพื้นฐานที่คณะกรรมการคัดเลือกผู้รับจ้าง ของหนวยงานที่ตองการจัดซื้อจัดจาง จะใชในการประเมินความเหมาะสมและความสามารถดานเทคนิคของผู้รับจ้าง ที่เสนอขอเขารับดําเนินภารกิจตามที่กําหนดไวใน TOR • คณะกรรมการฯ จะวิเคราะหและใหคะแนนขอเสนอดานเทคนิคของผู้รับจ้างทุกรายที่ไดรับเชิญใหสงขอเสนอดานเทคนิค โดยทั่วไป การใหคะแนนขอเสนอดานเทคนิคควรแบงเปนหัวขอตางๆ ดังตอ

  21. การพิจารณาขอเสนอดานเทคนิค(2)การพิจารณาขอเสนอดานเทคนิค(2) • (1) ประสบการณ • (2) วิธีการดําเนินงาน • (3) บุคลากร • (4) ความเหมาะสมในการถายทอดความรู้ • (5) การมีสวนรวมของเจาหนาที่ไทยในคณะเจาหนาที่ดําเนินงาน

  22. ประสบการณ์ • ประสบการณพิจารณาประสบการณที่ผานมาของผู้รับจ้างในแงขององคกรหรือบริษัท โดยใหความสําคัญแกประสบการณที่เกี่ยวของและสอดคลองโดยตรงกับงานที่ไดมีการกําหนดไวใน TOR และประสบการณในประเทศที่มีสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมใกลเคียงกับของประเทศไทย (เกณฑการตัดสินดานนี้กําหนดไว 10-20 คะแนน)

  23. วิธีการดําเนินงาน • วิธีการดําเนินงาน พิจารณาคุณภาพของวิธีการดําเนินงานและแผนการดําเนินงาน โดยวัดจากการประเมินความรูความเขาใจของผู้รับจ้าง ในงานที่ไดมีการกําหนดไวใน TOR ความถูกตองเหมาะสมของแผนการ แนวความคิดในการดําเนินงานในแงของระยะเวลาและความเชื่อมโยงของงานตางๆ การจัดวางกําลังคนตามชวงเวลาตางๆ ของการดําเนินงาน (Personnel Schedule) ระบบและวิธีการจัดการและบริหารการดําเนินงาน จํานวนผู้ร่วมงาน (man-month) และขอมูลอื่นๆ (เกณฑคะแนนตัดสินดานนี้กําหนดไว 30-50 คะแนน)

  24. วิธีการดําเนินงาน • หลักเกณฑการพิจารณาใหคะแนนดานวิธีการดําเนินงานนี้ โดยทั่วไป จะพิจารณาจากขอเสนอของผู้รับจ้างที่เสนอมา โดยกําหนดเกณฑการพิจารณาไว 3-4 ระดับ คือ ดีมาก ชวงคะแนนที่ไดรับคิดเปนรอยละ 80 - 100 ดี “ ” 70 - 79 พอใช “ ” 60 - 69 ต่ํากวาเกณฑ “ ” 0 - 59 (ไมมีขอเสนอ)

  25. บุคลากร • บุคลากร (ผู้รับจ้างหลัก) พิจารณาคุณวุฒิและประสบการณของคณะผู้รับจ้าง ที่เสนอมาดําเนินงานที่สอดคลองกับตําแหนง รวมทั้งจํานวน man-month ที่รับผิดชอบ (คะแนนเต็ม 30-60 คะแนน)

  26. ความเหมาะสมในการถายทอดความรูความเหมาะสมในการถายทอดความรู • ความเหมาะสมในการถายทอดความรู และประสบการณใหแกเจาหนาที่ของหนวยงานผูวาจาง (คะแนนเต็ม 0-10 คะแนน)

  27. การมีสวนรวมของเจาหนาที่ไทยในคณะเจาหนาที่ดําเนินงานการมีสวนรวมของเจาหนาที่ไทยในคณะเจาหนาที่ดําเนินงาน • การมีสวนรวมของเจาหนาที่ไทยในคณะเจาหนาที่ดําเนินงาน (คะแนนเต็ม 0-10 คะแนน) หลักการพิจารณาใหคะแนน ควรดําเนินการโดยกําหนดคะแนนเต็มสําหรับแตละหัวขอ และควรแบงหัวขอการพิจารณาแตละหัวขอออกเปนหัวขอยอยตางๆ และกําหนดคะแนนเต็มสําหรับแตละหัวขอยอย เพื่อสะดวกในการใหคะแนน

  28. การมีสวนรวมของเจาหนาที่ไทยในคณะเจาหนาที่ดําเนินงานการมีสวนรวมของเจาหนาที่ไทยในคณะเจาหนาที่ดําเนินงาน • คณะกรรมการอาจกําหนดคะแนนเต็มสําหรับหัวขอที่ 2 เปน 30 คะแนน และอาจแบงหัวขอที่ 2 เปนหัวขอยอยตางๆ ไดแก • (1) ความเขาใจของที่ปรึกษาในงานตาม TOR โดยประเมินจากการวิเคราะหปญหาในเบื้องตนของผู้รับจ้าง เพื่อกําหนดกรอบแนวคิดในการดําเนินงาน (Conceptual Framework) คะแนนเต็ม 5 คะแนน • (2) วิธีการดําเนินงาน (Approach and Methodology) คะแนนเต็ม 10 คะแนน

  29. การมีสวนรวมของเจาหนาที่ไทยในคณะเจาหนาที่ดําเนินงานการมีสวนรวมของเจาหนาที่ไทยในคณะเจาหนาที่ดําเนินงาน • (3) ความละเอียดและความเหมาะสมของแผนการดําเนินงาน คะแนนเต็ม 8 คะแนน • (4) ปริมาณแรงงานของเจาหนาที่ที่จะใชวัดเปนปริมาณคน-เดือน และของผูเชี่ยวชาญแตละดานแตกตางไปมากนอยเพียงใดเมื่อเปรียบเทียบกับตัวเลขที่ประมาณไวใน TOR คะแนนเต็ม 5 คะแนน • (5) ความตองการการสนับสนุนตางๆ จากหนวยงานผูวาจางสมเหตุสมผลเพียงใด คะแนนเต็ม 2 คะแนน

  30. หลักเกณฑในการตัดสิน • หลักเกณฑในการตัดสิน คณะกรรมการฯ จะตองกําหนดคะแนนต่ำสุดสําหรับขอเสนอดานเทคนิคดวย ขอเสนอดานเทคนิคใดที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนต่ำสุดจะไมไดรับการพิจารณา โดยทั่วไป คะแนน ต่ำสุดที่ตองการจะอยูที่รอยละ 70-80 ของคะแนนรวม คะแนนต่ำสุดใหใชคะแนนเฉลี่ยจากคะแนนที่ใหโดยกรรมการทุกคน

  31. ความโปรงใส • สําหรับความโปรงใสในการใหคะแนนขอเสนอดานเทคนิค เอกสารและขอมูลเชิญที่ผู้รับจ้างให ยื่นขอเสนอ จะตองกําหนดคะแนนเต็มสําหรับขอพิจารณาตางๆ ไวชัดเจน การเปลี่ยนแปลงใดๆ ใน หลักเกณฑการพิจารณาขอเสนอดานเทคนิค • จะตองมีขึ้นกอนที่ผู้รับจ้างจะสงขอเสนอดานเทคนิค • คณะกรรมการฯ จะตองแจงให ผู้รับจ้างทุกรายที่ไดรับเชิญใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลง • การเปลี่ยนแปลงใดๆ หลังจากที่ไดรับขอเสนอดานเทคนิคจากที่ผู้รับจ้างหรือการเปลี่ยนแปลงใดๆ กอนที่จะไดรับขอเสนอดานเทคนิคจากผู้รับจ้างแตไมไดแจงใหผู้รับจ้างทุกรายทราบถือวาไมโปรงใสและผิดหลักการคัดเลือกผู้รับจ้าง

  32. วิธีการใหคะแนน • การใหคะแนนในรูปแบบคณะกรรมการ • การใหคะแนนตามความเห็นของกรรมการแตละคน

  33. การใหคะแนนในรูปแบบคณะกรรมการการใหคะแนนในรูปแบบคณะกรรมการ • ฝายเลขานุการจะสรุปรายละเอียดขอเสนอดานเทคนิคใหที่ประชุมพิจารณาในแตละประเด็น และกรรมการแตละทานจะพิจารณาใหคะแนนโดยประธานคณะกรรมการจะนําผลการใหคะแนนของกรรมการแตละคนมาพิจารณาเปรียบเทียบและหารือในที่ประชุมคณะกรรมการกรรมการแตละคนควรสงรายงานแสดงความคิดเห็นของตน เพื่อใหเหตุผลสนับสนุนคะแนนของตนที่ให หากพบวากรรมการบางคนใหคะแนนบางหัวขอแตกตางมากจากคะแนนของกรรมการคนอื่นๆ

  34. การใหคะแนนตามความเห็นของกรรมการแตละคน • คณะกรรมการแตละคนจะพิจารณาขอเสนอทางดานเทคนิค แลวพิจารณาใหคะแนนตามหลักเกณฑที่กําหนดไว แลวจัดลําดับผู้รับจ้าง เรียงตามลําดับที่ดีที่สุดเสนอที่ประชุม โดยที่ปรึกษาที่ไดอันดับดีที่สุดมีคณะกรรมการเห็นชอบมากที่สุด ทั้งนี้ วิธีนี้เปนการจัดลําดับเรียงลําดับผู้รับจ้าง ที่มีขอเสนอดีที่สุด

  35. การพิจารณาขอเสนอดานการเงินการพิจารณาขอเสนอดานการเงิน • (1) การจางที่โดยวิธีตกลง • คณะกรรมการฯ จะดําเนินการเปดซองขอเสนอดานการเงินในกรณีขอเสนอทางดานเทคนิคผานเกณฑการตัดสินที่กําหนดไว

  36. การพิจารณาขอเสนอดานการเงินการพิจารณาขอเสนอดานการเงิน • (2) การจางผู้รับจ้างโดยวิธีคัดเลือก คณะกรรมการฯ จะดําเนินการเปดซองขอเสนอดานการเงินในรายที่มีขอเสนอทางดานเทคนิคดีที่สุดเปนลําดับแรก โดยประธานคณะกรรมการจะเปดซองขอเสนอการเงินตอหนากรรมการทุกคน • ในกรณีที่ใชวิธีการคัดเลือกแบบ Quality and Cost Based Selection ประธานคณะกรรมการจะสงหนังสือแจงที่ปรึกษาทุกรายที่ผานการพิจารณาดานเทคนิคใหมารวมในการเปดขอเสนอดานการเงิน ณ วัน เวลา และสถานที่ที่กําหนด โดยใหเวลาที่ปรึกษาเตรียมตัวไมนอยกวา 10 วันทําการ

  37. การปรับแกตัวเลขวงเงินที่เสนอการปรับแกตัวเลขวงเงินที่เสนอ • การปรับแกตัวเลขวงเงินที่เสนอ ในการคัดเลือกผู้รับจ้างโดยใชวิธี Quality and Cost Based Selection จําเปนตองปรับแกตัวเลข วงเงินที่เสนอของที่ปรึกษาทุกรายใหมีพื้นฐานเดียวกันเพื่อการใหคะแนน ประเด็นที่ตองพิจารณา ไดแก

  38. การปรับแกตัวเลขวงเงินที่เสนอการปรับแกตัวเลขวงเงินที่เสนอ • (1) สกุลเงินที่เสนอ ในกรณีที่ตัวเลขวงเงินที่เสนอมีทั้งเงินบาทและเงินสกุลตางประเทศ จําเปนตองปรับตัวเลขวงเงินเพื่อหายอดรวมในสกุลเดียว เอกสารเชิญชวนผู้รับจ้าง ใหยื่นขอเสนอดําเนินงาน จําเปนตองกําหนดสกุลเงินตราตางประเทศเพียงสกุลเดียว โดยทั่วไป จะใชเงินเหรียญดอลลารสหรัฐฯ เปนเกณฑ การปรับตัวเลขวงเงินที่เสนอจึงควรปรับเปนสกุลเงินบาททั้งหมด โดยใชอัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยของวันกอนวันเปดซองขอเสนอดานการเงินเปนเกณฑ

  39. การปรับแกตัวเลขวงเงินที่เสนอการปรับแกตัวเลขวงเงินที่เสนอ • (2) ภาษี ผู้รับจ้างแตละรายอาจคิดภาษีตางกัน ตัวเลขวงเงินที่จะใชเปนพื้นฐานในการใหคะแนนดานการเงินไมควรรวมภาษี • (3) รายจายบางรายการ ผู้รับจ้างบางรายอาจไมแสดงรายจายบางรายการที่ควรรวมอยูในสัญญาวาจาง ทั้งนี้ เพื่อตองการใหตัวเลขวงเงินต่ำ เอกสารเชิญชวนผู้รับจ้าง ใหยื่นขอเสนอดําเนินงานจะตองกําหนดชัดเจนวา การดําเนินงานของผู้รับจ้างจะประกอบดวยรายจายอะไรบาง • (4) วงเงินรวม คณะกรรมการฯ จะตองตรวจสอบความถูกตองของตัวเลขวงเงินรวมอีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่ไดปรับแกตัวเลขของรายการตางๆ แลว

  40. การเจรจาตอรองสัญญา • การเจรจาสัญญา หรือที่เรียกกันทั่วไปวา การเจรจาตอรอง มีวัตถุประสงคที่จะสรางความเขาใจและบรรลุขอตกลงรวมกันระหวางหนวยงานผูวาจางกับที่ปรึกษาในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวกับการดําเนินงาน คาใชจายในการดําเนินงานและเงื่อนไขตางๆ ในสัญญา โดยปกติ การเจรจาสัญญาจะใชเวลา 2-3 วัน หรือนานกวานี้ หากเปนโครงการที่ยุงยากซับซอน หรือหากทั้งสองฝายไมสามารถตกลงกันไดในประเด็นสําคัญ

  41. การเจรจาตอรองสัญญา • ประธานคณะกรรมการคัดเลือกและวาจางผู้รับจ้าง จะสงหนังสือเชิญที่ปรึกษาที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนอันดับแรกมาเจรจาตอรอง โดยหนังสือเชิญจะตองกําหนดชัดเจนใหที่ปรึกษาสงผูแทนที่มีอํานาจเต็มมาเจรจา โดยมีหนังสือมอบอํานาจที่ลงนามโดยผูที่มีอํานาจเต็มขององคกร เชน ประธานบริษัท เปนตน ที่ปรึกษาจะรับผิดชอบคาใชจายทั้งหมดในการเดินทางมาเจรจาตอรองสัญญา

  42. เอกสารประกอบการเจรจาสัญญาเอกสารประกอบการเจรจาสัญญา • การเจรจาสัญญาจะใชเอกสารตอไปนี้เปนพื้นฐาน • (1) ขอเสนอดานเทคนิค • (2) ขอเสนอดานการเงิน • (3) รางสัญญาการวาจาง

  43. ระเบียบวาระการเจรจาสัญญาระเบียบวาระการเจรจาสัญญา • ระเบียบวาระการเจรจาสัญญา การเจรจาสัญญาควรมีลําดับขั้นตอนตามระเบียบวาระดังตอไปนี้ • (1) การกลาวเปดการเจรจา • (2) การแสดงหนังสือมอบอํานาจ • (3) การพิจารณา TOR • (4) การสรางความกระจางในเรื่องการดําเนินงาน • (5) การทบทวนแผนการดําเนินงานและการจัดวางกําลังคน

  44. ระเบียบวาระการเจรจาสัญญาระเบียบวาระการเจรจาสัญญา • (6) การพิจารณาความตองการรายงานและกิจกรรมอื่น • (7) การพิจารณาเรื่องเครื่องมืออุปกรณบางอยาง • (8) การพิจารณาขอเสนอดานการเงิน • (9) การพิจารณารางสัญญา • (10) การจัดทําบันทึกการเจรจาสัญญา

More Related