170 likes | 180 Views
นพ.กฤษฎา ศิ ริชัยสิทธิ์ นายแพทย์เชี่ยวชาญด้านอายุรก รรม นางสุนันท์ นกทอง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ นางนุชยา เชื้อเวียง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 19 ธันวาคม 2561. Part I ภาพรวมของการบริหารองค์กร. ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร. ตอนที่ IV ผลลัพธ์.
E N D
นพ.กฤษฎา ศิริชัยสิทธิ์ นายแพทย์เชี่ยวชาญด้านอายุรกรรมนางสุนันท์ นกทอง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษนางนุชยา เชื้อเวียง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 19 ธันวาคม 2561 Part I ภาพรวมของการบริหารองค์กร
ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร ตอนที่ IV ผลลัพธ์ IV-1 ผลด้านการดูแลสุขภาพ IV-2 ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงาน IV-3 ผลด้านกำลังคน IV-4 ผลด้านการนำ IV-5 ผลด้านประสิทธิผลของกระบวนการทำงานสำคัญ IV-6 ผลด้านการเงิน I-4 การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ I-2 กลยุทธ์ I-5 กำลังคน IV ผลลัพธ์ I-1 การนำ I-3 ผู้ป่วย/ ผู้รับผลงาน I-6 การปฏิบัติการ ตอนที่ II ระบบงานสำคัญของโรงพยาบาล HA Standards 4th Edition, Effective 1 July 2018 II-1 การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ II-2 การกำกับดูแลด้านวิชาชีพ II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย II-4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ II-5 ระบบเวชระเบียน II-6 ระบบการจัดการด้านยา II-7 การตรวจทดสอบประกอบการวินิจฉัยโรคฯ II–8 การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ II–9 การทำงานกับชุมชน ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย III-1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ III-2 การประเมินผู้ป่วย III-3 การวางแผน III-4 การดูแลผู้ป่วย III-5 การให้ข้อมูลและเสริมพลัง III-6 การดูแลต่อเนื่อง กระบวนการดูแลผู้ป่วย
1-6 การปฏิบัติการ กระบวนการดูแลผู้ป่วย ระบบงานสำคัญ
1-6.1 กระบวนการทำงาน • ความเห็นชอบ การกำกับ • ทรัพยากร • อาจารย์ • การกำกับ • ข้อตกลงร่วมมือ • การปฏิบัติตาม • การสร้างเจตคติ • ประเมินผล • โอกาสเชิงกลยุทธ์ • การสนับการเงิน ทรัพยากร • นวตกรรม • ส่งมอบ • มั่นใจว่าปฏิบัติตามข้อกำหนด • ใช้ข้อมูลและตัววัด • ตอบสนองความต้องการที่สำคัญ • ปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพื่อยกระดับ • เลือกผู้ส่งมอบ • ข้อกำหนด • ประเมินของผู้ส่งมอบ • ให้ข้อมูลป้อนกลับ • จัดการเมื่อไม่เป็นไปตามข้อกำหนด • ข้อกำหนดที่สำคัญ • กระบวนการสำคัญ • ออกแบบบริการและกระบวนการ • ระบบควบคุมเอกสารที่ดี
ข้อกำหนดของบริการสุขภาพข้อกำหนดของบริการสุขภาพ • ระบบสุขภาพ มีบทบาทหน้าที่ ..... • มุ่งหวังให้ประชาชนมีสุขภาวะกายและจิตที่ดี • ผ่านกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาโรค ฟื้นฟูการทำงานของร่างกาย และกระบวนการสร้างความแข็งแกร่งและความพร้อมของสาธารณสุขในการรับมือโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ • และภัยพิบัติ • ระบบสุขภาพที่ดี ควรมี • การตอบสนองความคาดหวัง • เห็นคุณค่าศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ • ความเท่าเทียมด้านสิทธิประโยชน์
องค์ประกอบ ระบบบริการสุขภาพ • 1. ระบบบริการ • 2. ระบบผู้ให้บริการ • 3. ระบบผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ • 4. ระบบการเงินการคลัง • 5. ระบบสารสนเทศ • 6. ระบบอภิบาล (การกำกับดูแล) สวรส.(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข) https://www.hsri.or.th/researcher/classroom/detail/4741
ตัวอย่าง การออกแบบกระบวนการ
ก.การออกแบบกระบวนการ (Process design) • การออกแบบกระบวนการออกแบบกระบวนการ • (Process designการ • (Process design) • แนวคิดในการออกแบบ • ความเสี่ยง • ความเรียบง่าย • เห็นภาพชัดเจน • Lean ระบบ • Consistency • Human factor engineering • เป็นต้น • ผลของการออกแบบ • - ระบุขั้นตอนปฏิบัติ ใครทำ • อะไร อย่างไร • รู้ทางเลือก • รู้วิธีป้องกันหากมีความเสี่ยง • หากมีเหตุการณ์ไม่คาดฝันต้องมีการใช้ดุลยพินิจ • ขั้นตอนสำคัญต้องมีการคืนข้อมูลเพื่อยืนยันว่า ได้ปฏิบัติจริง ข.การจัดการและปรับปรุงกระบวนการ
ค. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน(ผลิตภัณฑ์และบริการ) • เน้น ดูใน รพ.ที่มีบริการจากภายนอก (outsourse) • - ผลิตภัณฑ์ เช่น เวชภัณฑ์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ • น้ำยาตรวจทางห้องปฏิบัติการ • - บริการ เช่น บริการอาหาร งานทำความสะอาด รปภ. • รพ.บึงกาฬมีบริการจากภายนอก (outsourse) • - ผลิตภัณฑ์ เช่น เวชภัณฑ์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ • น้ำยาตรวจทางห้องปฏิบัติการ CT scan • - บริการ เช่น บริการอาหาร รปภ. การทำลายขยะ • ไตเทียม2 Seven-11 อะเมซอน โรงอาหาร • สลายนิ่ว • (กรรมการ/สัญญา/ข้อตกลง/ประเมินผลการดำเนินงาน)
การจัดการห่วงโซ่อุปทานการจัดการห่วงโซ่อุปทาน • บริการจากภายนอก (outsourse) ให้ข้อมูลป้อนกลับ ปรับปรุง เริ่มต้น เลือกผู้ส่งมอบ ส่งมอบผลิตภัณฑ์/บริการ จัดการเมือผลการดำเนินการไม่เป็นไปตามข้อตกลง วัดและประเมินการดำเนินการของผู้ส่งมอบ จัดทำข้อกำหนดที่ชัดเจน รัดกุม
ง. การจัดการนวตกรรม • นำโอกาสเชิงกลยุทธ์ในข้อ 1-2.1 (2) • มาสร้างนวตกรรม • ให้การสนับสนุนการเงิน และทรัพยากร • ส่งมอบคุณค่าแก่ผู้ป่วย / ผู้รับผลงานอื่น องค์กรประสบความสำเร็จ
1-6.2 ประสิทธิผลของการปฏิบัติ • (Operational effectiveness • ควบคุมต้นทุนโดยรวมของการปฏิบัติการ • อุบัติการณ์ • การทำงานซ้ำ • ลดค่าใช้จ่าย • ปรับปรุงรอบเวลา • สภาพแวดล้อมของการปฏิบัติการที่ปลอดภัย • การเตรียมความพร้อมต่อ • ภัยพิบัติ หรือภาวะฉุกเฉิน
1-6.2 ประสิทธิผลของการปฏิบัติ • (Operational effectiveness) • ควบคุมต้นทุนโดยรวมของการปฏิบัติการ • อุบัติการณ์ • (หนี้สูญของค่ารักษาพยาบาล) • การทำงานซ้ำ • (การ Print เอกสารผู้ป่วยนอก) • ลดค่าใช้จ่าย (การผ่าตัด) • ปรับปรุงรอบเวลา • (การใช้พลังงานของงาน • จ่ายกลาง) • สภาพแวดล้อมของการปฏิบัติการที่ปลอดภัย • การเตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉิน • รพ.บึงกาฬ • ภัยพิบัติ ได้แก่ • - น้ำท่วม / พายุ / อัคคีภัย • - โรคระบาด • ภาวะฉุกเฉิน ได้แก่ • - อินเทอเนตล่ม • - อุบัติเหตุหมู่ / อุบัติเหตุจาก • การทำงาน • - น้ำไม่ไหล /ไฟดับ
การบ้าน กระบวนงานสำคัญ... ที่วางแผนตอบ สรพ ระดับ รพ. 1. 2. 3. 4. 5 ระดับ ทีมคร่อม 1. 2. 3. 4. 5 ระดับ หน่วยงาน 1. 2. 3. 4. 5
วัตถุประสงค์การอบรมการใช้มาตรฐาน HA ใหม่ (Version 4) • เพื่อสื่อสารรายละเอียดของมาตรฐาน • สื่อสารประเด็นที่ รพ.บึงกาฬได้พัฒนาแล้ว กำลังพัฒนา และยังเป็นส่วนขาด จากมาตรฐาน
เป้าหมาย หัวหน้าหน่วยงาน เลขาทีม ผู้รับผิดชอบคุณภาพในหน่วยงาน 1. ร่วมเรียนรู้ และเข้าใจ ประเด็นสำคัญของ มาตรฐาน 2. สามารถนำประเด็นที่เป็นการคร่อม สายงาน ไปจัดกิจกรรมพัฒนาให้ สอดคล้องในระดับทีม / หน่วยงานได้ - ออกแบบระบบ และปฏิบัติ - ให้ความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้อง