1.08k likes | 2.1k Views
ก. ารนิเทศ. ภายในโรงเรียน. วิไลวรรณ เหมือนชาติ ศน.สพม. เขต 33. การนิเทศการสอน : กระบวนการและความคิดรวบยอดที่จะปรับปรุงการสอนของครู เพื่อผลประโยชน์ของนักเรียนในอันที่จะเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเรียนรู้ให้สูงขึ้น ” (นิพนธ์ ไทยพานิช , 2535).
E N D
ก ารนิเทศ ภายในโรงเรียน วิไลวรรณ เหมือนชาติ ศน.สพม. เขต 33
การนิเทศการสอน: กระบวนการและความคิดรวบยอดที่จะปรับปรุงการสอนของครู เพื่อผลประโยชน์ของนักเรียนในอันที่จะเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเรียนรู้ให้สูงขึ้น” (นิพนธ์ ไทยพานิช, 2535)
การนิเทศภายใน:ความร่วมมือของบุคลากรในโรงเรียนในอันที่จะพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน จนบุคลากรทุกฝ่ายสามารถนำตนเองในการปฏิบัติงานได้ และก่อให้เกิดผลขั้นสุดท้ายคือการศึกษาของเด็กก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ (ธีรวุฒิ ประทุมรัตน์ และคณะ. 2533)
หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๐๓ นิเทศที่เน้นการตรวจตรา
หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ นิเทศเชิงชี้แนะ
หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ปรับปรุง ๒๕๓๓) นิเทศเชิงกัลยาณมิตร
ww.curriculum2551.com เน้นเทคนิคการนิเทศ
ความสำเร็จของ การนิเทศภายใน ครูเปลี่ยนวิธีการสอนไปสู่วิธีการที่มุ่งนำนักเรียนให้เกิดคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร
หลักการสำคัญ เชื่อว่าครูเปลี่ยนแปลงได้ การปลี่ยนแปลงนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ ทุกคนช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้ ทุกคนต้องยอมรับในความสามารถ/แตกต่าง
ครูจะเปลี่ยนแปลงเมื่อครูจะเปลี่ยนแปลงเมื่อ • ทัศนคติเปลี่ยน • ได้ลงมือฝึกฝน การปฏิบัติอย่างจริงจัง
วิธีการเปลี่ยนแปลง ครู • ได้เรียนรู้วิธีการเปลี่ยนแปลง การสอนของตนเองในฐานะผู้เรียน • ได้รับโอกาสในการสะท้อนความสำเร็จที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการสอนของตนเอง • ได้รับการสนับสนุนเครื่องมือที่จำเป็นอย่างเพียงพอ
ระบบการนิเทศภายในโรงเรียนที่เข้มแข็งระบบการนิเทศภายในโรงเรียนที่เข้มแข็ง ครูปรับการเรียน เปลี่ยนวิธีสอน
แก่นแท้/หัวใจสำคัญของการจัดการศึกษาและงานของครูและสถานศึกษา ก็คือการเรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียน
คุณภาพการศึกษาอยู่ที่ไหนคุณภาพการศึกษาอยู่ที่ไหน • คุณภาพการศึกษาอยู่ที่สถานศึกษา • คุณภาพการศึกษาอยู่ที่ห้องเรียน • คุณภาพการศึกษาอยู่ที่ตัวผู้เรียน • ครูเป็นผู้สร้าง/พัฒนาคุณภาพการศึกษา • ผู้บริหาร/สพม.เป็นผู้อำนวยการสร้างคุณภาพ • ผู้เรียน ผู้ปกครองและองค์กรต่างๆเป็นผู้รับผลของคุณภาพการศึกษา
นโยบายหน่วยเหนือPOLICY วิสัยทัศน์VISION ข้อมูลสารสนเทศINFORMATION ภาวะการตัดสินใจ ค่านิยมVALUE ประสบการณ์EXPERIENCE ของนักบริหาร ทางเลือก 1 2 3
9 ขั้นตอนการสร้างระบบ การนิเทศภายในให้เข้มแข็ง 1.แต่งตั้งบุคลากรนิเทศภายในโรงเรียน
การสร้างทีมผู้นิเทศภายในการสร้างทีมผู้นิเทศภายใน 1.ความสำคัญของทีม 2.องค์ประกอบของทีม 3.กระบวนการทำงานของทีม 4.ปัจจัยสู่ความสำเร็จของทีม
TEAM T = Together E = Everyone A = Achieve M = More ร่วมมือกันทุกคน สัมฤทธิ์ผลได้มากกว่า
2.วิเคราะห์ความต้องการรับการนิเทศของครูในโรงเรียน2.วิเคราะห์ความต้องการรับการนิเทศของครูในโรงเรียน
3. การกำหนดรูปแบบการนิเทศภายในโรงเรียน (เทคนิค SWOT) 4. วางแผนการนิเทศภายใน 5. ดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียน
กลยุทธ์ การปรับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม 1. สังเกต / หาข้อมูล และวิเคราะห์สาเหตุ 2. ให้ความสนใจเป็นพิเศษ 3. Reaction ที่ไม่ต้องใช้คำพูด 4. Reaction ที่นุ่มนวล 5. Reaction ที่เป็นคำพูด ยืนใกล้ใช้สายตาเป็นมิตรการสัมผัส จำ /เรียกชื่อผู้เรียนใช้อารมณ์ขันให้ผู้เรียนมีโอกาสเลือกใช้วาทะเชิงบวก
วาทะของครู วาทะเชิงบวก ได้บวก 1. เราไว้ใจคุณ (+100)2. เราเชื่อมือพวกคุณ (+80)3. พวกคุณให้ความร่วมมือดีมาก (+15)4. พวกคุณตั้งใจทำงานดีจังเลย (+50)5. ผลงานของคุณมีจุดเด่นหลายอย่าง (+40)6. ถ้าคุณมุ่งมั่นอย่างนี้ อนาคตสดใสแน่ (+35)
วาทะเชิงลบ ได้ลบ 1. พวกคุณแย่มาก ไม่รับผิดชอบเลย (-100)2. ผม/ฉันโชคร้ายจังที่มีเพื่อนร่วมงานอย่างคุณ (-80)3. พวกคุณทำอย่างนี้ จะไปรอดไหมเนี้ยะ (-50)4. จะเอายังไงกันแน่ ถ้าไม่ทำก็ลาออกไปให้พ้น (-200)5. ถ้ายังเป็นอย่างนี้ อนาคตไม่ต้องทำนาย (-90)
วาทะหลักของผู้นิเทศ หกคำจำไว้ใช้สร้างพลังพัฒนา * ผม/ฉันเชื่อมั่นในตัวคุณ * ผม/ฉันไว้ใจพวกคุณมาก ห้าคำทำให้เกิดแรงจูงใจ *พยายามต่อไป/พยามยามอีกครั้ง
สี่คำนำไปบอกกล่าวเมื่อผู้รับการนิเทศทำดี * คุณทำดีมาก * คุณทำได้ดี สามคำนำความยินดีมาให้กับผู้รับการนิเทศ * ผมดีใจ (จังเลย) * ผมยินดี (ด้วยนะ)
สองคำแสดงออกเมื่อผู้รับการนิเทศมีน้ำใจสองคำแสดงออกเมื่อผู้รับการนิเทศมีน้ำใจ * ขอบใจ หนึ่งคำทำให้ผู้รับการนิเทศไม่กล้า / ไม่พัฒนา * อย่า !
6. การถอดบทเรียน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7. การสรุป รายงานผลการนิเทศภายในโรงเรียน 8. หาเครือข่ายขยายผล 9.พัฒนาเครือข่ายให้มีความเข้มแข็ง
การสร้างเครือข่ายการนิเทศการสร้างเครือข่ายการนิเทศ • เสริมสร้างการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษาร่วมกัน • การสร้างพลังความร่วมมือพัฒนา • เครือข่ายภายในและนอกสถานศึกษา (ครู ผู้บริหาร ศน.นักวิชาการ ผู้ปกครอง) • เครือข่ายระหว่างโรงเรียน เขต/สถาบันอุดมศึกษา
ขอบข่ายการนิเทศภายในฯขอบข่ายการนิเทศภายในฯ • งานหลักสูตร • การนำหลักสูตรสู่ห้องเรียน • การเรียนการสอน • อื่น ๆ
จุดเริ่มต้นของการพัฒนาเรื่องเด่น ประเด็นร้อน:Hot Hit Issue แหล่งกำเนิดเรื่องราว (แหล่งข้อมูล) • นโยบายของหน่วยเหนือ (ทั้งขึ้นทางด่วนและทางปกติ) • ข้อมูลผลการเรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ • ข้อมูลผลการประเมินของ สมศ. ผลการทดสอบNT • เสียงสะท้อนจากครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน • ความคิด ความเชื่อและประสบการณ์ของผู้วิจัย
คุณภาพการศึกษาในโรงเรียนของท่านมีอาการหนักเรื่องใดบ้าง:Hot Hit Issue -หลักสูตรสถานศึกษาไม่ Work -ครูสอนไม่เป็น...ไม่ตั้งใจสอน... -นักเรียนไม่รักการอ่าน ไม่ใฝ่เรียนรู้ -ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ -การคิด วิเคราะห์...เจาะไม่ถึงเกณฑ์ -คุณลักษณะที่พึงประสงค์..ยังไม่พึงประสงค์อีกเยอะ
คุณภาพการศึกษาในโรงเรียนของท่านมีอาการหนักเรื่องใดบ้างคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนของท่านมีอาการหนักเรื่องใดบ้าง -ครูและบุคลากรไม่เพียงพอ -ครูสอนไม่ตรงตามวุฒิ/วิชาเอกที่จบมา -ครูมีภาระงานอื่นเยอะทำงานทุกอย่าง (ยกเว้นงานสอน) -ครูขาดทักษะการจัดการงานและชีวิต --ครูเป็นโรคเบื่องาน ( และเบื่อผู้บริหาร ) ....จ้องจะออกก่อนเกษียณอายุราชการ -ครู/ผู้บริหารขาดภาวะผู้นำทางวิชาการ
คิดไม่เป็น เล่นมากกว่าเรียน เตือนแล้วย้อน ลูกศิษย์ของท่านมีอาการอย่างนี้บ้างไหม สอนไม่ฟัง สั่งไม่ทำ จำแต่เรื่องไร้สาระ มักจะเป็นชาวเกาะ ไม่เสาะแสวงหาความรู้เพิ่ม ความรู้เดิมมีน้อย คอยแต่ลอกงานเพื่อน อ่าน เขียนไม่ได้
ไร้วินัย ใจไม่สู้ เรียนรู้ไม่เป็น ลูกศิษย์ของท่าน มีอาการอย่างนี้บ้างไหม เขม่น-เล่นกันรุนแรง ไม่แบ่งปันกัน สัมพันธภาพไม่ดี ไม่มีความสุข ติดยุคแฟชั่น จัดสรรเวลาไม่เป็น เล่นแต่เกมออนไลน์ ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย
เรื่องเด่น ประเด็นร้อน ภาพรวมในระดับประเทศมีข้อมูลบ่งชี้ว่า... เยาวชน คนไทยไม่ชอบอ่านหนังสือ อ่านหนังสือน้อยมากโดยเฉลี่ยวันละ 8 บรรทัด ปีละ 2 เล่ม สภาพจริงในโรงเรี่ยนของท่าน นักเรียนอ่านหนังสือมากน้อยเพียงใด ทำไมนักเรียนจึงไม่รักการอ่านและที่อ่านเพราะเหตุใดและจะทำอย่างไร(จึงจะ)ดี
Develop Issue: 1. นักเรียนอ่านหนังสือน้อยมาก คิดเป็นร้อยละ 11. 35 คำถามวิจัย 1.1 ทำไม 1.2 อะไร 1.3 จะทำอย่างไร 1.1 ทำไมนักเรียนจึงไม่รักการอ่าน 1.2 มีปัจจัยอะไรบ้างที่ส่งเสริมและเป็นอุปสรรคต่อการเสริมสร้างนิสัยรักการอ่านของนักเรียน 1.3 ควรมีกลยุทธ์ในการเสริมสร้างนิสัยรักการอ่านของนักเรียนอย่างไร 1.4 ควรจัดโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานิสัยรักการอ่านของนักเรียนอย่างไร
เจาะเรื่องเด่น ประเด็นร้อน 2. นักเรียนและเยาวชน...ขาดความรู้รัก สามัคคี มีแนวโน้มที่จะก่อเหตุทะเลาะวิวาท ๐ การวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุ/เสริมสร้าง.......... ๐โครงการโรงเรียนต้นแบบ “รู้รักสามัคคี” ๐ รูปแบบการเสริมสร้างความรู้ รัก สามัคคี..... - เซฟ ที คัต ตัดก่อนตาย เตือนก่อนวายวอด: ระบบและกลไกการป้องกันการก่อเหตุทะเลาะวิวาท ..
เจาะเรื่องเด่น ประเด็นร้อน 3.นโยบาย “คุณธรรมนำความรู้”นำไปถึงไหนแล้ว ๐ กลยุทธ์การนำนโยบาย “คุณธรรมนำความรู้”สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา - การติดตามผลการดำเนินงานตามนโยบาย “คุณธรรมนำความรู้”ของโรงเรียน..... ๐ การวิจัยประเมินผลนโยบาย “คุณธรรมนำความรู้”
จากเรื่องเด่น ประเด็นร้อน • อยากรู้/อยากค้นหา อยากสร้างหรือพัฒนาอะไร Develop Question จะรู้ จะค้นหา จะสร้างหรือพัฒนาได้อย่างไร Research Methodology
ผลการประเมิน สมศ. • มาตรฐานที่ ๔ (ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์) ไม่ผ่าน • มาตรฐานที่ ๕ (ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร) ไม่ผ่าน • มาตรฐานที่ ๖ (ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง) เป็นพิเศษ โดยจัดตั้งองค์การมหาชนขึ้นมาขับเคลื่อน ถ้าปล่อยให้ทำตามระบบราชการอาจไม่ทันการ ไม่ผ่าน
การวิเคราะห์ประเด็น/โจทย์การพัฒนาการวิเคราะห์ประเด็น/โจทย์การพัฒนา
การวิเคราะห์ประเด็น/โจทย์การพัฒนาการวิเคราะห์ประเด็น/โจทย์การพัฒนา
วิธีการนิเทศ • ตรวจสอบเอกสารหลักสูตร • สังเกตการสอน • สะท้อนคิดร่วมกัน • ฯลฯ
เทคนิคการนิเทศ Coaching Mentor อื่น ๆ
IF YOU HEAR,YOU FORGET. ข้อคิดเพื่อการเรียนรู้ IF YOU SEE, YOU REMEMBER. IF YOU DO, YOU LEARN.
ชีวิตที่ยุ่งเหยิง ชีวิตที่บ้านเป็นอย่างนี้ไม๊??.......
ข้อคิดสะกิดใจ กระจก มีไว้ส่องหน้า ปัญญา มีไว้ส่องหัว ความชั่ว มีไว้ส่องคุณธรรม ผู้นำมีไว้ส่ององค์การ ครูและผู้บริหาร มีไว้ส่องคุณภาพการศึกษา
เมื่อโลกเปลี่ยน คุณต้องเปลี่ยน เมื่อคุณไม่เปลี่ยน โลกจะเปลี่ยนคุณ
การเปลี่ยนแปลงใช้เวลาเสมอการเปลี่ยนแปลงใช้เวลาเสมอ