570 likes | 935 Views
เรื่อง “ แนวทางการสำเร็จการศึกษาของ นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ”. บรรยายโดย ผศ.ดร.คนึงนิจ ภู่พัฒน์วิบูลย์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย. โครงการสัมมนานิสิตระดับบัณฑิตศึกษา เกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ และแนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัยนเรศวร.
E N D
เรื่อง “แนวทางการสำเร็จการศึกษาของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา” บรรยายโดย ผศ.ดร.คนึงนิจ ภู่พัฒน์วิบูลย์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย โครงการสัมมนานิสิตระดับบัณฑิตศึกษาเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ และแนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัยนเรศวร วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2553ณ ห้องสัมมนา 1 คณะศึกษาศาสตร์ เวลา 09.00-12.00 น.
เส้นทางสู่ความสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกเส้นทางสู่ความสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก
ระยะเวลาการศึกษาสำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษาระยะเวลาการศึกษาสำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษา
สรุปเกณฑ์การสอบผ่านภาษาอังกฤษสรุปเกณฑ์การสอบผ่านภาษาอังกฤษ
สรุปเกณฑ์การสอบผ่านภาษาอังกฤษ(ต่อ)สรุปเกณฑ์การสอบผ่านภาษาอังกฤษ(ต่อ)
สรุปเกณฑ์การสอบผ่านภาษาอังกฤษสรุปเกณฑ์การสอบผ่านภาษาอังกฤษ
ผลการสอบมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับถึงวันที่ยื่นหลักฐาน • EGS. = หลักสูตร English for Graduate Studies โดย วิทยาลัยนานาชาติ • สถาบันที่ มหาวิทยาลัยนเรศวรรับรองผลภาษาอังกฤษ CU-TEP ศูนย์ทดสอบทางวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันที่ ก.พ. รับรอง ขณะนี้อยู่ระหว่างจัดทำประกาศฯ
การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualify Examination)สำหรับนิสิตปริญญาเอก นิสิตต้องผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ โดยดำเนินการดังนี้ สมัครสอบและชำระเงินค่า สมัครสอบภายในระยะเวลา ที่มหาวิทยาลัยกำหนด บัณฑิตวิทยาลัยกำหนดการสอบ วัดคุณสมบัติปีการศึกษาละ 3 ครั้ง เนื้อหาสาระการสอบเป็นไปตาม ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง การกำหนดหมวดวิชาและเนื้อหาสาระ การสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนิสิต ปริญญาเอก 1
สมัครสอบวัดคุณสมบัติได้ ตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ของ ชั้นปีที่ 2 กรณีที่จะถือว่านิสิตสอบผ่านนิสิตจะต้องสอบได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ตามประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง กำหนดเกณฑ์การตัดสินผลการสอบวัดคุณสมบัติ กรณีนิสิตสอบไม่ผ่าน 3 ครั้งในปีการศึกษานั้นนิสิตสามารถสอบจนกว่าจะผ่านในปีการศึกษาต่อไป แต่ระยะเวลาการศึกษาต้องไม่เกินที่มหาวิทยาลัยกำหนด การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualify Examination)สำหรับนิสิตปริญญาเอก (ต่อ) 2
การทำวิทยานิพนธ์สำหรับนิสิตปริญญาโท /เอก แผน ก ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ตามแผนการเรียน เสนอชื่อเรื่องและแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ สอบโครงร่างวิทยานิพนธ์และบัณฑิตวิทยาลัยประกาศให้ทำวิจัย ดำเนินการทำวิจัยให้แล้วเสร็จ ดำเนินการขอสอบวิทยานิพนธ์ โดยระยะเวลาการขอสอบวิทยานิพนธ์ห่าง จากวันประกาศให้ทำวิจัยไม่น้อยกว่า 90 วัน และยื่นเรื่องสอบให้ บัณฑิตวิทยาลัย ก่อนกำหนดวันสอบอย่างน้อย 30 วันทำการ ดำเนินการสอบวิทยานิพนธ์ ส่งวิทยานิพนธ์ฉบับร่างให้บัณฑิตวิทยาลัยตรวจรูปแบบ ส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ 1 2 3 4 7 8 6 5
คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ จำนวนคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
นิสิตกรอกแบบขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการที่นิสิตกรอกแบบขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (บว.11) ขั้นตอนการขอแต่งตั้ง คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์รับเป็นที่ปรึกษา และลงนามในแบบ (บว.11) เห็นชอบ เสนอหัวหน้าภาควิชา/ สาขาวิชาพิจารณา ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ เสนอคณบดี เจ้าของหลักสูตร ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ คณะส่งแบบขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ให้บัณฑิตวิทยาลัย
คณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์คณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย • ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ • กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ • คณาจารย์บัณฑิตศึกษาในสาขาวิชานั้น • คณาจารย์บัณฑิตศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง รวมแล้วไม่น้อยกว่า 5 คน ทำหน้าที่ประธาน กรรมการ และเลขานุการ
นิสิตยื่นคำร้องขอรับการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์นิสิตยื่นคำร้องขอรับการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ ขั้นตอนการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ คณะกรรมการที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ ไม่เห็นชอบ 1 เห็นชอบ เสนอชื่อคณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นิสิตชำระเงินค่าสมัครสอบ เห็นชอบ เสนอหัวหน้าภาควิชา/ สาขาวิชา พิจารณา ไม่เห็นชอบ คณะกำหนดวันสอบ และจัดสอบพิจารณาโครงร่างฯ นิสิตปรับแก้ไขตามข้อเสนอของคณะกรรมการสอบฯ และนำส่งเล่มให้กรรมการตรวจสอบ เห็นชอบ เสนอชื่อคณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ คณะกรรมการสอบโครงร่างตรวจสอบและอนุมัติผลสอบ คณบดีเจ้าของหลักสูตร พิจารณา ไม่เห็นชอบ ส่งแบบอนุมัติผลการสอบโครงร่างให้บัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัยประกาศให้ทำวิจัย 1
การเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์หลังจากสอบโครงร่างฯการเปลี่ยนชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์หลังจากสอบโครงร่างฯ • เป็นการเปลี่ยนชื่อเรื่องโดยมีการปรับข้อความของชื่อเรื่องให้มีความเหมาะสม กระชับ รัดกุม โดยไม่กระทบ ต่อข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง และผลการทดลอง • กรณีที่เปลี่ยนชื่อเรื่องที่มีความหมายต่างไปจากเรื่องเดิม มีผลกระทบต่อข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง ผลการทดลอง นิสิตต้องดำเนินการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ใหม่ ภายใต้หัวข้อเรื่องที่เปลี่ยนแปลง • การเปลี่ยนชื่อเรื่องใช้แบบฟอร์ม บว.11 (4)
นิสิตปริญญาโทมีสิทธิ์สอบวิทยานิพนธ์ดังนี้นิสิตปริญญาโทมีสิทธิ์สอบวิทยานิพนธ์ดังนี้ 1.ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์และรายวิชาครบถ้วนตามหลักสูตร 2. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการหรือเสนอต่อที่ประชุมที่มีรายงานการประชุม (Proceeding) ที่มีคณะกรรมการภายนอกร่วมกลั่นกรอง ( Peer Review) ก่อนการตีพิมพ์
นิสิตปริญญาเอกมีสิทธิ์สอบวิทยานิพนธ์ดังนี้นิสิตปริญญาเอกมีสิทธิ์สอบวิทยานิพนธ์ดังนี้ 1.ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์และรายวิชาครบถ้วนตามหลักสูตร 2. สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา 3. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่มีคณะกรรมการภายนอกร่วมกลั่นกรอง ( Peer Review)ก่อนการตีพิมพ์
หลักเกณฑ์การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์หลักเกณฑ์การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ • การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ต้องอยู่ในรูปบทความวิจัยที่มีองค์ประกอบเป็นไปตามมาตรฐานการตีพิมพ์ผลงานวิจัย • นิสิตปริญญาเอก ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานที่นำไปตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์วิชาการต้องมีรายชื่ออยู่ในประกาศของมหาวิทยาลัยนเรศวร หรือวารสารที่มีอยู่ในฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index Center-ICI) หรือฐานข้อมูลสากล
นิสิตปริญญาโท ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานนำไปตีพิมพ์ตามข้อ 2 หรือตีพิมพ์ในรายงานการประชุมวิชาการ (Proceeding) ที่เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร
รายงานการประชุมวิชาการต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ • เป็นรายงานการประชุมที่จัดพิมพ์โดยหน่วยงานในมหาวิทยาลัยตั้งแต่ระดับคณะหรือเทียบเท่าหรือจากสมาคมวิชาชีพ องค์กรที่เป็นที่ยอมรับในวารสารวิชาการหรือที่ประชุมวิชาการที่มีหลักเกณฑ์ การพิจารณาการตีพิมพ์อย่างมีมาตรฐาน • มีคณะกรรมการ Peer Review ที่เป็นบุคคลภายนอก • มีองค์ประกอบสำคัญของการตีพิมพ์ผลงานเป็นไปตามมาตรฐานการตีพิมพ์ผลงานวิจัย • มีการกำหนดขั้นตอนและวิธีการพิจารณาผลงานเพื่อลงตีพิมพ์ • รายงานการประชุมวิชาการที่จัดพิมพ์ขึ้นต้องเผยแพร่ไปยังสถาบันการศึกษาต่างๆ
การขอสอบวิทยานิพนธ์ • นิสิตยื่นคำร้องขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ด้วยแบบฟอร์ม (บว.21) เสนอให้บัณฑิตวิทยาลัย ก่อนกำหนดวันสอบไม่น้อยกว่า 30 วัน • ภาควิชา/ คณะต้นสังกัด เสนอรายชื่อกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ดังนี้ • นิสิตระดับปริญญาโท - อาจารย์ประจำบัณฑิตวิทยาลัย เสนอชื่อ 2 คน บัณฑิตวิทยาลัยเลือก 1 คน - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัยนเรศวร เสนอชื่อ 2 คน บัณฑิตวิทยาลัยเลือก 1 คน
นิสิตยื่นคำร้องอนุมัติแต่งตั้งนิสิตยื่นคำร้องอนุมัติแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ (บว.21) พร้อมแบบรายงานผลการเรียน (บว.22) ขั้นตอนการขอสอบวิทยานิพนธ์ของนิสิต ไม่เห็นชอบ คณะกรรมการที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์พิจารณา 1 เห็นชอบ นิสิตชำระเงินค่าสมัครสอบ นิสิตยื่นคำร้องขอสอบให้บัณฑิตวิทยาลัย ก่อนกำหนดวันสอบอย่างน้อย 30 วันทำการ พร้อมวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง หัวหน้าภาคสาขาวิชา เสนอชื่อคณะกรรมการสอบ ไม่เห็นชอบ บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด พร้อมทั้งอนุมัติสอบวิทยานิพนธ์ คณบดีเจ้าของหลักสูตร พิจารณา เห็นชอบ 1
การขอสอบวิทยานิพนธ์ (ต่อ) • นิสิตระดับปริญญาเอก - อาจารย์ประจำบัณฑิตวิทยาลัย เสนอชื่อ 2 คน บัณฑิตวิทยาลัยเลือก 1 คน - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัยนเรศวร เสนอ 4 คน บัณฑิตวิทยาลัยเลือก 2 คน • กรณีนิสิตเข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป ระยะเวลาการขอสอบวิทยานิพนธ์ต้องห่างจากวันประกาศอนุมัติให้นิสิตบัณฑิตศึกษาดำเนินการทำวิจัยตามโครงร่างวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 90 วัน
คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
นิสิตส่งแบบขออนุมัติแต่งตั้งนิสิตส่งแบบขออนุมัติแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบ (บว.21) ขั้นตอนการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ บว.ตรวจสอบคุณสมบัติ คณะกรรมการ ให้เป็นไปตามเกณฑ์ 1 เป็นไปตามเกณฑ์ เสนอรองคณบดีฝ่ายวิชาการฯ พิจารณา เสนอคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยลงนาม เสนอคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติ ส่งคำสั่งแต่งตั้งให้คณะ จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ คณะจัดสอบวิทยานิพนธ์ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์/ รายงานผลการสอบให้บัณฑิตวิทยาลัย 1
การสอบวิทยานิพนธ์ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ดำเนินการ ดังนี้ ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และภาควิชา รับผิดชอบในการ ประสานงานกับกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และขออนุมัติค่าใช้จ่ายในการจัดสอบจากคณะเจ้าของหลักสูตร กรณีนิสิตสอบวิทยานิพนธ์ไม่ผ่าน นิสิตมีสิทธิ์ขอยื่นสอบ วิทยานิพนธ์ใหม่ได้ภายหลังการสอบครั้งแรก ไม่น้อยกว่า 1 เดือน
การสอบวิทยานิพนธ์ (ต่อ) ในวันสอบจะต้องมีคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ครบ จึงจะถือว่า การสอบมีผลสมบูรณ์ ถ้าคณะกรรมการไม่ครบให้เลื่อนการสอบ ออกไป และในกรณีจำเป็นอาจขอเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ แต่ ต้องได้รับการแต่งตั้งก่อนวันสอบ อย่างน้อย 15 วันทำการ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์จะต้องรายงานผลการสอบต่อ บัณฑิตวิทยาลัยภายใน 2 สัปดาห์ หลังวันสอบวิทยานิพนธ์ ตามแบบรายงานผลการสอบวิทยานิพนธ์ (บว.24)
การตรวจรูปแบบสารนิพนธ์การตรวจรูปแบบสารนิพนธ์ • มหาวิทยาลัยนเรศวรกำหนดให้นิสิตบัณฑิตศึกษาใช้คู่มือการจัดทำ สารนิพนธ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ฉบับ พ.ศ. 2550 เป็นคู่มือในการทำวิทยานิพนธ์ และการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) • อาจารย์ที่ปรึกษา/ภาควิชา/สาขาวิชา/ผอ.ศูนย์ฯ ตรวจรูปแบบ IS ตามคู่มือการจัดทำสารนิพนธ์ฯ • บัณฑิตวิทยาลัยตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์ตามคู่มือการจัดทำ สารนิพนธ์ฯ
ขั้นตอนการตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัยขั้นตอนการตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย นิสิตกรอกแบบรายงานผลการตรวจรูปแบบ วิทยานิพนธ์ (บว.25) ประธานที่ปรึกษาพิจารณาตรวจความถูกต้อง และให้ความเห็นชอบ บัณฑิตวิทยาลัยรับแบบรายงานผลการตรวจ รูปแบบวิทยานิพนธ์ ไม่ถูกต้องแก้ไข ตรวจรูปแบบการพิมพ์ ให้ความถูกต้อง ถูกต้อง แจ้งให้นิสิตเข้าเล่มสมบูรณ์
นิสิตกรอกแบบฟอร์มนำส่งวิทยานิพนธ์นิสิตกรอกแบบฟอร์มนำส่งวิทยานิพนธ์ ป.โท บว. 26 / ป.เอก บว.27,28 ขั้นตอนส่งวิทยานิพนธ์และอนุมัติวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย ประธานที่ปรึกษาพิจารณาให้ความเห็นชอบ และลงนาม ส่งแบบฟอร์มพร้อมเล่มวิทยานิพนธ์ ฉบับสมบูรณ์ ไม่ถูกต้อง ตรวจสอบ ความถูกต้อง ถูกต้อง เสนอรองคณบดีฝ่ายวิชาการฯ พิจารณา คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติวิทยานิพนธ์ และลงนามหน้าอนุมัติวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัยเสนอแบบขออนุมัติ สำเร็จการศึกษาของนิสิต รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการอนุมัติ
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโทเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโท
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโท (ต่อ)
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอกเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอก
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของนิสิตบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอก (ต่อ)
แนะนำงานบริการการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยสำหรับติดต่องานด้านวิชาการ
บุคลากรงานบริการการศึกษา สินีนาฎ พุ่มสอาด รักษาการในตำแหน่ง หัวหน้างานบริการการศึกษา
บุคลากรงานบริการการศึกษาบุคลากรงานบริการการศึกษา อัจจิมาสุนทร เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป อรนุชกรุตนารถ นักวิชาการศึกษา นวิพรรณตันติพลาผล นักวิชาการศึกษา - การเทียบโอนหน่วยกิต - งานบริหารและพัฒนาหลักสูตร • - งานสอบประมวลความรู้ • - งานสอบวัดคุณสมบัติ • การสอบเทียบความรู้ภาษาอังกฤษ • งานวิทยานิพนธ์ • - การติดตามนิสิต
บุคลากรงานบริการการศึกษาบุคลากรงานบริการการศึกษา กนกกานต์ ยาห้องกาศ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป พัฒน์ศักดิ์ กระต่ายน้อย เจ้าหน้าที่วิจัย ภัคคีณี เทิดสิทธิกุล บรรณารักษ์ - งานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง - งานทุนวิจัยสำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษา - การลาพัก/การย้ายสาขา - การลงทะเบียนล่าช้า • การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ • พัฒนาฐานข้อมูล • งานบริการห้องสมุดบัณฑิตวิทยาลัย • การตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์
แนะนำเว็บไซต์ บัณฑิตวิทยาลัย http://www.grad.nu.ac.th
แนะนำบริการ Online ของบัณฑิตวิทยาลัย